Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10117
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ภูริพัฒน์ ชาญกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | สรชา แสงอารมณ์, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T08:20:31Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T08:20:31Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10117 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ที่เคยใช้งานแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ซึ่งเป็นผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม 2) ระดับคุณภาพการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส จากผู้ใช้งานในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ที่เคยใช้งาน แอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ที่เคยใช้งานแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ซึ่งเป็นผู้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม คำนวณตัวอย่างโดยใช้สูตรของคอแครน ได้จำนวน 390 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 - 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท การเข้าใช้บริการฟังก์ชั่นในแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส คือ ชำระค่าไฟฟ้า ความถี่ที่เข้าใช้บริการแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส เฉลี่ย 1 ครั้ง / เดือน 2) ระดับคุณภาพการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ในจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ผู้ที่เคยใช้งานแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในจังหวัดมหาสารคาม ที่มีอายุ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับคุณภาพการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของแอปพลิเคชัน พีอีเอ สมาร์ท พลัส ในจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค--ไทย--มหาสารคาม--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.subject | PEA Smart Plus | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | คุณภาพการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ของแอปพลิเคชัน PEA SMART PLUS ในจังหวัดมหาสารคาม | th_TH |
dc.title.alternative | Electronic service quality of PEA SMART PLUS application in Mahasarakham Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The research was aimed 1) to investigate the personal factors of people who have used PEA SMART PLUS application and domiciled in MahaSarakham Province. 2) to investigate the level of electronic service quality of PEA SMART PLUS application from users in MahaSarakham Province. 3) to compare the electronic services quality of PEA SMART PLUS application classified by personal factors of who have used PEA SMART PLUS application and domiciled in MahaSarakham Province. The study population was of people who have used PEA SMART PLUS application and domiciled in MahaSarakham Province. The sample was calculated by the formula of W.G.cochran to by 390 people using a convenient sampling. The research Instrument was the questionnaire. The statistics for data analysis are frequency, percentage, mean, and standard deviation (SD) T-test and One Way ANOVA. The results revealed that 1) most respondents were male, 31 - 40 years old and average monthly income of 15,001 - 25,000 Baht. The functional usage of PEA SMART PLUS application was to pay for electricity. The usage frequency of PEA SMART PLUS application service was average 1 time / month. 2) Overall electronic service quality of PEA SMART PLUS application in MahaSarakham Province was at a high level. 3) Respondents who have used the application and domiciled in MahaSarakham Province with different ages and income have a different overall electronic service quality of the PEA SMART PLUS application in MahaSarakham Province with statistically significant at 0.05. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
168772.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License