Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารีรัตน์ สีระสาร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบุญช่วย อุดคำมี, 2525--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-30T12:50:19Z-
dc.date.available2023-10-30T12:50:19Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10123-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจ 2) สภาพการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 3) การใช้เทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 4) ต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 5) ปัญหาการผลิตและข้อเสนอแนะแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกร อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางประชากรในการวิจัย คือ เกษตรกรที่ปลูกหรือผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ปี 2562/63 ของอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกร จำนวนรวมทั้งหมด 189 ราย กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างใช้สูตร(Taro Yamane) และสุ่มตัวอย่างสุ่มแบบง่าย มีค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือในภาพรวมเท่ากับ 0.845 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรเกินครึ่งเป็นเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 55.87 ปี การศึกษาระดับประถมศึกษา ประสบการณ์ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 11.43 ปี พื้นที่ในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 24.28 ไร่ ผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 585.56 กิโลกรัมต่อไร่ รายได้จากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 91,694.42 บาทต่อปี รายจ่ายจากการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เฉลี่ย 95,753.36 บาทต่อปี 2) พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เกือบทั้งหมดอยู่นอกเขตชลประทาน เกินครึ่งมีสภาพพื้นที่เป็นพื้นที่ราบเชิงเขา ส่วนใหญ่ปลูกในฤดูฝน เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมของภาคเอกชนในการปลูก เฉลี่ยไร่ละ 3.36 กิโลกรัม เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ที่มีความทนแล้งได้นานเมื่อฝนทิ้งช่วงเจริญเติบโตเหมาะสมกับสภาพดินฟ้าอากาศ มีการใช้เครื่องจักรเครื่องมือ ได้แก่ รถไถเล็กและเครื่องพ่นสารเคมี 3) เกษตรกร ไม่มีเทคโนโลยีการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ การเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ดินก่อนปลูก เลือกใช้พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง โดยปลูกด้วยเครื่องปลูก และไม่มีการคัดแยกฝักเสียขณะเก็บเกี่ยว สีเป็นเมล็ดแล้วขายทันที 4) ต้นทุนการผลิตข้าวโพดเฉลี่ย 4,104.53 บาทต่อไร่ ราคาขายผลผลิตเฉลี่ย 6.73 บาทต่อกิโลกรัมผลผลิตเฉลี่ย 585.56 กิโลกรัมต่อไร่ ทำให้มีรายได้เฉลี่ย 3,949.20 บาทต่อไร่ 5) ปัญหาในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ด้านราคาและปริมาณผลผลิตตกต่ำมาก ข้อเสนอแนะ ภาครัฐควรมีตลาดกลางรับซื้อผลผลิต เพื่อลดการกดราคาจากพ่อค้าคนกลางมากที่สุth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าวโพด--การผลิต--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.titleการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาth_TH
dc.title.alternativeExtension of technology utilization of maize production for farmers in Maetha District, Lampang Provincen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to study 1) fundamental social and economic, 2) the conditions of maize production 3) Maize Production Technology 4) cost and return of production by farmers 5) Problems and suggestions in agricultural extension maize production of farmers in Maetha District, Lampang Province. The population in this study was 189 samples who have registered to produced maize Year 2019/62 in Maetha District, Lampang Province were selected by using simple random sampling methodology. Coefficient of reliability of 0.845. The statistics were used to analyze the data by computerized programs including frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation and Ranking. The findings of this study were as follows: 1) more than half of the farmers are female with average age at 55.87 years and finished Primary school. The average maize experience at 11.43 years. The average area for growing maize is 24.28 Rai. The average maize production was 585.56 Kg/Rai. The average income from maize planting was 91,694.42 Baht/ Years. The average Expenses from maize planting was 95,753.36 Baht/ Years. 2) Almost all maize-growing areas are outside irrigation areas. More than half of the area is the mountain plain. Most planted in the rainy season. Use hybrid variety from private sector averagely 2.94 kg/Rai. Most of them chose the maize varieties which could survive during dry season, and the maize could grow up suitably adhering to the climate conditions. The favorite tools for planting were small pushcart and spray of chemical substance. 3) farmers not technology Utilization of Maize Production with analysis soil before planting. Use high productivity seed. Crop was planted by planters, and not waste separation, milled into grains for sale. 4) The average cost was 4,104.53 Baht/Rai. The average selling price of maize produce was 6.73 Baht/Kg. The average maize production was 585.56 Kg/Rai. The average income was 3,949.20 Baht/Rai. And 5) In overview, farmers had problems was at a moderate level with the first level of other problems, it recommends that government should have a central market to buy products for reduce the price from the middleman of the most reasonen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165199.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons