Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10129
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาริณี เอี่ยมสวัสดิกุล | th_TH |
dc.contributor.author | บังอร พิมพ์จันทร์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-30T13:28:09Z | - |
dc.date.available | 2023-10-30T13:28:09Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10129 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดี ระหว่างก่อนและหลังทดลอง ในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และหลังทดลอง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ และ (2) เปรียบเทียบการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ หลังทดลองระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคมะเร็งท่อน้ำดี อายุระหว่าง 35-60 ปี มีท่อน้ำดีหนาระดับปานกลางและระดับมาก จำนวน 59 คน ที่ได้จากการเลือกแบบเจาะจงตามเกณฑ์ในการคัดเข้าศึกษาจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านยางบ่ออี เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 29 คน และจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองเรือ เป็นกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 30 คน โดยให้ทั้งสองกลุ่มมีคุณสมบัติคล้ายคลึงกันในด้านอายุ และระดับความหนาของท่อน้ำดี เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองเป็นโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดีกลุ่มเสี่ยงที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามแนวคิดแบบจำลองพรีสีด-โพรสีด เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม 3 ส่วน (1) ข้อมูลทั่วไป (2) พฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดี มีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหา 0.96 มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.79 และ (3) ผลการตรวจพยาธิใบไม้ตับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สถิติการทดสอบที สถิติการทดสอบวิลคอกซันแมทซ์แพร์ซายน์แรงค์ และสถิติการทดสอบซี ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังทดลอง กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบมีพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดี โดยรวมและรายด้านทุกด้านสูงกว่าก่อนทดลอง กลุ่มทดลองมีพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดีด้านการรับประทานอาหารสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ มีพฤติกรรมการออกกำลังกายและพฤติกรรมโดยรวมเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) หลังทดลอง กลุ่มทดลองมีการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับไม่แตกต่างจากกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ท่อน้ำดี--มะเร็ง--การดูแลและสุขวิทยา | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมสุขภาพ--ไทย--สุรินทร์ | th_TH |
dc.title | ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคมะเร็งท่อน้ำดีในกลุ่มเสี่ยงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านยางบ่ออี จังหวัดสุรินทร์ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of a cholangiocarcinoma preventive behavior development program for risk group at Ban Yang Bo-E Tambon Health Promoting Hospital, Surin Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this quasi-experimental research were 1) to compare the cholangiocarcinoma (CCA) preventive behaviors before and after the experiment of an experimental group and a comparison group, and after the experiment between the experimental group and the comparison group, and 2) to compare the Opisthorchis viverini (OV) infection rate after the experiment of the experimental group and the comparison group. The samples comprised 59 people at risk of developing CCA, aged 35-60 years old with periductal fibrosis (PDF) at moderate and severe level. They were selected by the purposive sampling technique as they met the inclusion criteria. Twenty nine samples were selected from Banyangbor-e Tambon Health Promoting Hospital as an experimental group and 30 samples were selected from Nongreoa Tambon Health Promoting Hospital as the comparison group, respectively. All of them were similar in age and PDF level. The experimental tool was the CCA preventive behavior development program based on PRECEDE-PROCEED model. The data collecting tool was a questionnaire with 3 parts: (1) general data, (2) CCA preventive behaviors with content validity index 0.96 and Cronbach’s alpha coefficient 0.79, and (3) result of OV examination. Data were analyzed by descriptive statistics, t-test, Wilcoxon matched pairs signed rank test and Z test. The results found as follows. (1) After the experiment, nutritional, exercise and overall CCA preventive behavior of the experimental group and the comparison group were significantly higher than before the experiment (p < .05). After the experiment, nutritional behavior of the experimental group were significantly higher than that of the comparison group (p < .05), and exercise and overall CCA preventive behavior were significantly increased more than the comparison group (p <. 05); and (2) after the experiment, the OV infection rate of the experimental group was not significantly different from the comparison group (p > .05). | en_US |
dc.contributor.coadvisor | มุกดา หนุ่ยศรี | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
165477.pdf | เอกสาณฉบับเต็ม | 21.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License