Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10139
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนันท์ สีสังข์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสนัญชญา โสภา, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:50:49Z-
dc.date.available2023-10-31T02:50:49Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10139-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร 2) ความรู้และการได้รับความรู้ในการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพของเกษตรกร 3) การปฏิบัติในการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพของเกษตรกร 4) ปัญหาและข้อเสนอแนะในการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพของเกษตรกร 5) ความต้องการแนวทางการส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพของเกษตรกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ เกษตรกรผู้ผลิตถั่วเหลือง และขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตร ในปีการผลิต 2561/2562 จำนวน 620 ครัวเรือน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยสูตรของ ทาโร ยามาเน่ ที่ความคลาดเคลื่อน 0.07 ได้ 154 ราย โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายด้วยวิธีจับสลากตามรายชื่อเกษตรกรตามสัดส่วนที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดอันดับ ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกร ร้อยละ 59.7 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 52.74 ปี ร้อยละ 72.7 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในการปลูกถั่วเหลืองเฉลี่ย 11.74 ปี ร้อยละ 98.1 ได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ด้านการผลิตถั่วเหลืองจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร มีพื้นที่ทำการเกษตรเฉลี่ย 13.30 ไร่ พื้นที่ผลิตถั่วเหลือง 5.59 ไร่ มีแรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 2.18 คน รายได้จากการผลิตถั่วเหลืองเฉลี่ย 4,181.17 บาทต่อไร่ ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 2,186.36 บาทต่อไร่ และมีผลผลิตเฉลี่ย 270.55 กิโลกรัมต่อไร่ 2) เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพในระดับมาก ประเด็นที่เกษตรกรตอบผิดมากที่สุด คือ การผลิตบางขั้นตอน ไม่จำเป็นต้องมีเอกสารและการบันทึกข้อมูล โดยได้รับความรู้ในการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพที่ผ่านมาเฉลี่ย 1.44 ครั้ง 3) สภาพการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพตามหลักการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีพบว่าเกษตรกรมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ประเด็นที่เกษตรกรไม่ได้ปฏิบัติมากที่สุดคือ การเก็บตัวอย่างน้ำและดินไปสุ่มตรวจ 1) ในภาพรวมเกษตรกรมีปัญหาในการส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพอยู่ในระดับน้อย ประเด็นที่เกษตรกรมีปัญหามากที่สุด คือ แหล่งน้ำไม่เพียงพอต่อการผลิต โดยเกษตรกรเห็นด้วยกับข้อเสนอแนะในการส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพด้านต่างๆ อยู่ในระดับมากทั้งด้านเนื้อหาการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพและวิธีการส่งเสริม 5) เกษตรกรมีความต้องการแนวทางการส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพด้านเนื้อหาการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพในระดับมากทุกประเด็น ส่วนด้านวิธีการส่งเสริมเกษตรกรต้องการการส่งเสริมแบบกลุ่มบุคคลในระดับมาก การส่งเสริมแบบบุคคลต่อบุคคล และแบบมวลชนในระดับปานกลางth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการส่งเสริมการเกษตร--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectถั่วเหลือง--การผลิต--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการผลิตถั่วเหลืองคุณภาพของเกษตรกรในอำเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeExtension guidelines for the quality soybean production of farmers in Doi Luang district, Chiang Rai provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study 1) social and economic conditions of farmers 2) knowledge and knowledge receiving in quality soybean production of farmers 3) practice in quality soybean production of farmers 4) problems and suggestions regarding quality soybean production of farmers 5) needs in extension guidelines for quality soybean production of farmers. The population of this research was soybean production farmers who registered as farmers with agricultural extension department in the production year of 2018/2019 from 620 households. The sample size of 154 people was determined by using Taro Yamane formula with the error value of 0.07 through simply random sampling method by using lottery from the list of farmers’ names according to the determined proportion. Data was collected by conducting interview and was analyzed by using descriptive statistics such as frequency, percentage, minimum value, maximum value, mean, standard deviation, and ranking. The results of the research stated that 1) 59.7% of farmers were male with the average age of 52.74 years. 72.7% completed primary school education with the average experience in soybean production of 11.74 years. 98.1% received information and knowledge about soybean production from agricultural extension officers. They had the average agricultural production area of 13.30 Rai and the average soybean production area of 5.59 Rai. The average labors in the household were 2.18 people, the average income from soybean production was 4,181.17 Baht/Rai, the average cost of production was 2,186.36 Baht/Rai, and the average productivity was 270.55 kilogram/Rai. 2) Farmers had knowledge about quality soybean production at the high level. The most incorrect topic answered by the farmers was that some of the production steps did not need to be documented or recorded. The average knowledge receiving in quality soybean production in the past was 1.44 times 3) According to quality soybean production condition according to good agricultural practice, it found out that farmers adopted the principle at the high level. The aspect which the farmers did not adopt the most was on water and soil sampling. 4) Overall, farmers faced with the problems about quality soybean production extension at the low level. The most problematic issue was about insufficient resource for production. Farmers agreed with the suggestion in the extension of quality soybean production in various aspects at the high level in both the content of quality soybean production and extension methods. 5) Farmers wanted to have extension guidelines in quality soybean production at the high level in every aspect. For the extension method, farmers wanted to receive the extension in the form of group of individuals at the high level while one to one and mass were at the moderate levelen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
165005.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons