Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10140
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชคัตตรัย ปัตถานัง, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T02:56:06Z-
dc.date.available2023-10-31T02:56:06Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10140-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดเชียงใหม่ 2) เปรียบเทียบการใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดเชียงใหม่ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ศึกษา คือ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดเชียงใหม่ 26 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 327 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 180 คน โดยใช้สูตรของทาโร่ ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเชิงพหุคูณด้วยวิธีการของฟิชเชอร์ ผลการศึกษา พบว่า (1) สารสนเทศทางการบัญชีที่ใช้มากที่สุด ได้แก่ รายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน รองลงมา คือ รายงานของผู้สอบบัญชี งบแสดงฐานะการเงิน และผลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางการเงินในมิติการทำกำไร โดยใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงตามลาดับดังนี้ ด้านการลงทุน ด้านการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง ด้านสินเชื่อ และด้านเงินรับฝากและทุนของสหกรณ์ (2) คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ที่มีอายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการเป็นคณะกรรมการที่ต่างกัน ใช้สารสนเทศทางการบัญชีแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ คณะกรรมการขาดความรู้ความเข้าใจในการวิเคราะห์ความมั่นคงทางการเงินของสหกรณ์ พนักงานของสหกรณ์ ไม่มีความรู้และทักษะการนำเสนอรายงานทางบัญชี คณะกรรมการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบัญชีสหกรณ์และการนำงบการเงินไปใช้ในการบริหารงาน และขาดผู้ให้คำปรึกษาในการบันทึกรายการบัญชีให้ถูกต้องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสหกรณ์ออมทรัพย์--ไทย--เชียงใหม่--การบริหารth_TH
dc.subjectการบัญชีบริหารth_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeUse of accounting information for management by the administrative committee of the Savings Cooperatives in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บริหารธุรกิจ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to 1)study the use of accounting information for management by administration committee of the Savings Cooperatives in Chiang Mai Province; 2) compare the use of accounting information for management classified by personal characteristics of administration committee of the Savings Cooperatives in Chiang Mai Province; and 3) study the problems and obstacles of the use of accounting information for management by administration committee of the Savings Cooperatives in Chiang Mai Province. This study is a quantitative research. The population was 327 members in 26 administration committees of the Savings Cooperatives in Chiang Mai Province. 180 samples size was determined by the formula of Taro Yamane, using a stratified sampling method. The tools used for data collection were questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and Multiple Comparisons with Fisher's method. The results showed that (1) the accounting information used at most was monthly performance reports, followed by the auditor's report, statement of financial position and earnings sufficiency indicator from analysis of financial stability. The used of accounting information for management was at a high level in all aspects including Investment aspects, followed by Liquid Asset Management, Credit Management and Deposits and Cooperative Capital, respectively. (2) The administration committee with different ages, levels of education, and experience, used accounting information statistically significant difference at .05 level. (3) The problems and obstacles of the use of accounting information for management were overall at a moderate level, in descending orders: the administration committee lacks of knowledge and understanding of the cooperatives’ financial stability analysis; Cooperative staff do not have the knowledge and skills to present accounting reports; the administration committee lacks of knowledge and understanding of cooperative accounting and implementing financial statements for management, and the Savings Cooperatives lacks of consultants to advise accurate accounting recordsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168775.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons