Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10141
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมโภช รติโอฬาร | th_TH |
dc.contributor.author | สมโภช บุญวัน, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T02:57:19Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T02:57:19Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10141 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | งานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สถานการณ์ความสุขในการทำงาน (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลกับความสุขในการทำงาน (3) ความแตกต่างของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านคุณลักษณะงานและปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงาน ในกลุ่มที่มีความสุขแตกต่างกัน และ (4) ปัจจัยด้านคุณลักษณะงานและ สภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสมกับความสุขในการทำงานของบุคลากร ศึกษาวิจัย 2 ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิการประเมินความสุขในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดกาญจนบุรี ปี พ.ศ. 2562 จำนวน 867 คน สุ่มตัวอย่างอย่างง่ายได้จำนวน 318 คน และระยะที่ 2 ศึกษาปัจจัยอื่นที่เหมาะสมกับระดับความสุขของบุคลากรสาธารณสุข สุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจะจง จำนวน 20 คน เครื่องมือ คือ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติเชิงพรรณนา ทดสอบไคสแควร์ และ ทดสอบ แมน - วิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า (1) บุคลากรสาธารณสุขมีความสุขเฉลี่ยทั้ง 9 มิติอยู่ในระดับมีความสุข โดยมิติน้ำใจดี มีค่าเฉลี่ยความสุขสูงที่สุดและอยู่ในระดับมีความสุขมาก (2) ปัจจัยคุณลักษณะส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับระดับความสุขของบุคลากรสาธารณสุข ได้แก่ เพศ สถานภาพสมรส ช่วงวัย ระดับการศึกษา การตั้งครรภ์ การมีบุตร เวลาการทำงานเวรกะ ระยะเวลาที่ทำงานในองค์กรปัจจุบัน รายได้ ระดับตำแหน่ง และประเภทการจ้าง (3) ความคิดเห็นด้านคุณลักษณะงานและสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรในกลุ่มที่มีความสุขแตกต่างกัน พบว่ามีระดับความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน และ (4) ปัจจัยด้านคุณลักษณะงานของแฮคแมนและ โอลแฮม และปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานไวตามินโมเดลมีความเหมาะสมกับความสุขในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรโรงพยาบาล--ไทย--ความพอใจในการทำงาน. | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสุขในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุข จังหวัดกาญจนบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Factors correlated with happiness at work of Health personnel in Kanchanaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This quantitative research’s objectives were to study: (1) the situation of happiness at work; (2) the relationship between personal characteristics and happiness at work; (3) the differences in opinion levels on job characteristics and work environment factors in personnel with different happiness levels; and (4) the factors of job characteristics and work environment that were suitable for happiness at work of health personnel in Kanchanaburi province. The study was conducted in two phases: Phase 1 involved a sample of 318 health officials selected using simple random sampling from all 867 health personnel under the Kanchanaburi Provincial Public Health Office; secondary data on happiness at work were collected in 2019; and Phase 2 involved a purposively selected sample of 20 health workers for data on other factors that were suitable for happiness at work. Data were collected using a questionnaire with the reliability value of 0.89 and then analyzed with descriptive statistics including chi-square test and Man-Whitney U test. The results revealed that: (1) among the participating health personnel, on average for all nine happiness dimensions, they were happy at the normally happy level; and the “happy heart” dimension had the highest mean score at the “very happy” level; (2) the personal characteristics correlated with the health personnel’s happiness levels were gender, marital status, age, educational level, pregnancy, having children, working time, years of service in the current unit, income, position level and type of employment; (3) the opinions on job characteristics and work environment of personnel with different happiness levels were not different; and (4) Hackman and Olham’s job characteristics and work environment factors of the vitamin model were suitable for happiness at work of health personnel in the province. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วรางคณา จันทร์คง | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
165469.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 28.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License