Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1014
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมัลลิกา มัสอูดี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorปิยนาถ บุนนาค, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัคเดช กมลรัตนานันท์, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T02:08:40Z-
dc.date.available2022-08-26T02:08:40Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1014-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเป็นมาของตำแหน่งเจ้าท่าหับประมาสะแตม (2) บทบาทและอำนาจหน้าที่ของเจ้าท่าหับประมาสะแตม ระหว่าง พ.ศ. 2398 - 2453 และ (3) ผลของบทบาทและ อำนาจหน้าที่ดังกล่าวต่อระบบราชการไทย โดยใช้วิธีการศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์การวิจัยเอกสาร และการ นำเสนอ ในรูปแบบวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การปฏิวัติอุตสาหกรรม ลัทธิล่าอาณานิคมของมหาอำนาจตะวันตก นโยบาย โอนอ่อนผ่อนตามและการปรับประเทศให้ทันสมัย ตลอดจนการทำสนธิสัญญาเบาว์ริงระหว่างไทยกับอังกฤษ เป็นปัจจัยทำให้เกิด “เจ้าท่าหับประมาสะแตม” ขึ้นในระบบราชการไทยในเวลาต่อมา สนธิสัญญาดังกล่าว ได้ยกเลิกระบบการค้าแบบผูกขาดโดยพระคลังสินค้าลงทำให้พ่อค้าต่างชาติสามารถค้าขายกับราษฎรไทย ได้โดยตรงและข้าวไทยเป็นสินค้าออกสำคัญนำไปสู่การผลิตในปริมาณมากเพื่อการส่งออก ผลที่ตามมาก็คือ เรือสินค้าต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในแม่น้ำเจ้าพระยาเพิ่มมากขึ้นในปริมาณหลายร้อยลำขึ้นไปต่อปี รวมทั้ง พัฒนาการของเรือที่เปลี่ยนไปจากเรือสำเภามาเป็นเรือกลไฟ ตลอดจนภัยอันเกิดจากการคุกคามและการตกเป็น เมืองขึ้นของหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้กับชาติมหาอำนาจตะวันตกทำให้ไทยตระหนัก ถึงภัยคุกคามนี้ จึงทำให้มีแนวคิดในการบัญญัติกฎหมายท้องน้ำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันอันตราย จากการเดินเรือและให้เกิดการยอมรับในความเป็นสากล อันนำไปสู่การสรรหาบุคลากรผู้ชำนาญการทั้งด้านการ เดินเรือ และรอบรู้กฎ ธรรมเนียมการเดินเรือที่เป็นสากลเข้ามารับราชการ (2) หับประมาสะแตม มีบทบาทและ อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายท้องน้ำในการอำนวยความสะดวกทำให้เกิดความปลอดภัยแก่เรือที่เข้าออก ราชอาณาจักร และตัดสินชี้ผิด ถูกกรณีมีข้อพิพาทจากเรือชนกัน จนเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ รวมทั้งได้ วางรากฐานงานเจ้าท่าสมัยใหม่ไว้ (3) ผลของบทบาทและหน้าที่ดังกล่าวส่งผลให้เกิดกรมเจ้าท่าและการพัฒนา กฎหมายการเดินเรือที่ใช้มาจนถึงปัจจุบันซึ่งเป็นพระราชวิเทโศบายของพระมหากษัตริย์ไทยในช่วงเวลานั้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาไทยคดีศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกรมเจ้าท่า--ประวัติth_TH
dc.titleบทบาทและอำนาจหน้าที่ของเจ้าท่าหับประมาสะแตม (พ.ศ. 2398-2453)th_TH
dc.title.alternativeThe roles and authority of The Harbour Master (1855-1910)th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate (1) the background of the Harbor Master (2) the roles and authorities of the Harbor Master from 1855 to 1910, and (3) the effects of the roles and authorities on the Thai government system using documentary research in historical approach and presented in descriptive analysis. The findings revealed that (1) the industrial evolution and colonialism of western powerful nations, the compromised policy, changing to be a modern nation and the creation of the Bowring Treaty between the Kingdom of Siam and the United Kingdom resulted in “The Habour Master” in the Thai government system. The subsequence of the cancellation of the monopoly system by the royal treasury allowed foreign traders to directly trade with Thai people. The purpose of Thai agricultural products, for example rice produced for earning a living, evolved into mass products, produced for export trading, and the consequence was the increasing number in hundreds of foreign cargo ships each year on the Chao Phraya river. In addition, the industrial evolution caused tremendous changes in ship production from junk to steamer, the defeat of many countries in the Southeast Asia region resulting in imperialism by the western countries affected the kingdom of Siam to consider this threaten insecurity. In addition, it gave rise to the start of the marine act to prevent disaster from sailing and to be accepted as a civilized nation, leading to the selection of a specialist in international shipping, rules and tradition to be the civil servant called “The Harbour Master”. (2) The Harbour Master’s roles and duties were to facilitate sailing in and out of the territory, to prevent disaster that may occur from sailing and to judge in cases, of dispute caused by collision damage. These resulted an acception in civilization of the Harbour Master from many countries and the Harbour Master was laid as the foundation for modern harbour as well. (3) The subsequences of those roles and authorities became the basis for founding the present Harbour Departmenten_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม26.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons