Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10152
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชำนาญ เชาวกีรติพงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปัทมพรรณ บุญประคม, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T03:37:27Z-
dc.date.available2023-10-31T03:37:27Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10152-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการคิดเชิงนวัตกรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนและหลังการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา วิชาสนุกกับอิเล็กทรอนิกส์ และ 2) เปรียบเทียบเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา วิชาสนุกกับอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา โดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียนจากทั้งหมด 4 ห้องเรียน รวม 36 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาวิชาสนุกกับอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 3 แผน รวม 18 ชั่วโมง แบบประเมินการคิดเชิงนวัตกรรมและแบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) นักเรียนมีการคิดเชิงนวัตกรรมหลังการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนมีเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--พระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา วิชาสนุกกับอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อการคิดเชิงนวัตกรรมและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมัธยม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of STEM Education activities management in the enjoying electronics course on innovative thinking and attitudes towards science of Mathayom Suksa III students at Laboratory school of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare innovative thinking levels of Mathayom Suksa III students before and after learning under STEM Education activities management in the Enjoying Electronics Course; and (2) to compare attitudes towards science of Mathayom Suksa III students before and after learning under STEM Education activities management in the Enjoying Electronics Course. The research sample consisted of 36 Mathayom Suksa III students in an intact classroom obtained by cluster random sampling from the existing four classrooms at the Laboratory School of Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University. The research instruments were three learning management plans covering 18 hours for STEM Education activities management in the Enjoying Electronics Course, a scale to assess innovative thinking, and a scale to assess attitudes towards science. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research results showed that (1) the post-learning innovative thinking level of the students who had learned under STEM Education activities management in the Enjoying Electronics Course was significantly higher than their pre-learning counterpart level at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning and pre-learning attitudes toward science of the students who had learned under STEM Education activities management in the Enjoying Electronics Course were not significantly differenten_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167085.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons