Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10154
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุปรียา คิริพัฒนกุลขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorขรรค์ชัย ตุลละสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุชาญ นาคน้อย-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T03:47:25Z-
dc.date.available2023-10-31T03:47:25Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10154-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชา เครื่องวัดไฟฟ้า เรื่องเครื่องวัดไฟฟ้าพื้นฐาน สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้า ทางการเรียนของนักเรียนจากการเรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อคุณภาพของชุดการเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง จำนวน 30 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดการเรียน ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาเครื่องวัดไฟฟ้า เรื่องเครื่องวัดไฟฟ้าพื้นฐาน จำนวน 3 หน่วย ได้แก่ หน่วยที่ 2 แอมมิเตอร์ หน่วยที่ 3 โวลต์มิเตอร์ หน่วยที่ 4 โอห์มมิเตอร์ (2) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเพื่อการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของการใช้ชุด การเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย ผู้วิจัยได้นำข้อมูลจากการทดลองมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อหา ประสิทธิภาพของชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย ด้วยค่า E,/E2 การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายที่สร้างและพัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ดังนี้ 81.67/80.67, 80.67/79.33 และ 81.33/82.33 ตามลำดับ (2) ความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนมีความคิดเห็นที่มีต่อคุณภาพชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.143-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาลัยการอาชีพบ้านตาก--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectไฟฟ้า--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาเครื่องวัดไฟฟ้า เรื่องเครื่องวัดไฟฟ้าพื้นฐาน สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยการอาชีพบ้านตากth_TH
dc.title.alternativeComputer-based learning packages via network on the topic of basic electrical instruments in the electrical instruments course for vocational certificate students in the Electrical Power Department of Ban Tak Industrial and Community Education Collegeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.143-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) develop computer-based learning packages via network on the topic of Basic Electrical Instruments in the Electrical Instruments Course for Vocational Certificate students in the Electrical Power Department of Ban Tak Industrial and Community Education College to meet the determined efficiency criterion; (2) study the learning progress of students learning with the developed computer-based learning packages; and (3) study the students' opinions on the developed computer-based learning packages. The sample consisted of 30 purposively selected first year Vocational Certificate students in the Electrical Power Department of Ban Tak Industrial and Community Education College. Research instruments consisted of (1) three units of computer-based learning packages via network on Basic Electrical Instruments in the Electrical Instruments Course, namely, Unit 2: Amp meter, Unit 3: Volt meter, and Unit 4: Ohm meter; (2) two parallel forms of an achievement test for pretesting and post testing; and (3) a questionnaire to assess students' opinions on the developed computer-based learning packages. Data were analyzed to determine the efficiency of the developed computer-based learning packages with the calculation of E1/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings revealed that (1) the three units of computer-based learning packages had efficiency indices of 81.67/80.67, 80.67/79.33 and 81.33/82.33 respectively, meeting the determined 80/80 efficiency criterion; (2) the students' learning achievement increased significantly at the .05 level; and (3) students had opinions toward the quality of learning packages at the very suitable level.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.39 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons