Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1015
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสำรวย กมลายุตต์th_TH
dc.contributor.authorศักดา อาจองค์, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T02:18:31Z-
dc.date.available2022-08-26T02:18:31Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1015en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบระบบฐานข้อมูลการบาดเจ็บในเด็กไทย ระบบฐานข้อมูลจัดเก็บข้อมูลสําคัญเกี่ยวกับการบาดเจ็บในเด็กไทยเช่น ข้อมูลส่วนตัวผู้ป่วยข้อมูลการบาดเจ็บก่อนมาถึงโรงพยาบาลข้อมูลปัจจัยเวลาข้อมูลสาเหตุการบาดเจ็บ ข้อมูลพฤติกรรมของผู้ป่วยข้อมูลอุบัติเหตุข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรังสีวิทยาข้อมูลการวินิจฉัยข้อมูลการรักษาและปัจจัยอื่น ๆ เป็นต้น งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา วิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศใช้วิธีวงจรพัฒนาระบบ โดยเริ่มต้นจากการศึกษาความเป็นไปได้และการวิเคราะห์ปัญหาของระบบเดิมจากนั้น ผู้วิจัย เก็บรวบรวมรายละเอียดข้อมูลทั้งหมดและนํามาวิเคราะห์เพื่อออกแบบระบบใหม่การออกแบบระบบประกอบด้วย โครงสร้างของระบบ ฟังก์ชันระบบย่อย โครงสร้างฐานข้อมูลรายงานสถิติแบบเรียลไทม์ที่ใช้แนวทางการประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์หรือโอแลป ส่วนต่อประสานผู้ใช้และระบบรักษาความมั่นคงปลอดภัย เมื่อออกแบบระบบเสร็จแล้วจึงดําเนินการพัฒนาระบบ ทดสอบระบบและติดตั้งระบบสําหรับผู้ใช้ สําหรับเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ระบบจัดการฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล พีเอชพีระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ผลการวิจัยคือได้ต้นแบบระบบฐานข้อมูลการบาดเจ็บในเด็กไทย ที่มีฟังก์ชันอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บและค้นคืนข้อมูลการบาดเจ็บ จัดทํารายงานที่มีประโยชน์สําหรับแพทย์ พยาบาล นักวิจัยและบุคลากรสาธารณสุขในการปรับปรุงการบริหารจัดการและการบริการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น การประเมินผลการทํางานของระบบโดยกลุ่มผู้ใช้คือ ผู้บริหาร ผู้ดูแลระบบและผู้ใช้ผลการประเมินพบว่าผู้ใช้ส่วนมากมีความพึงพอใจระดับสูงในทุก ๆ ด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเด็ก--บาดแผลและบาดเจ็บ--ไทย--ฐานข้อมูลth_TH
dc.titleการพัฒนาต้นแบบระบบฐานข้อมูลการบาดเจ็บในเด็กไทยth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of the prototype of Thai Pediatric Injury Surveillance Database Systemen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to develop the prototype-database of Thai pediatric injury and surveillance. The database system stored important Thai child injury data which were patient information, pre-hospital data, time factor data, cause of injury data, patient behavior data, accident data, laboratory investigation data, diagnostic data, treatment data and miscellaneous data. The System Development Life Cycle methodology was used to develop the Thai pediatric injury prototype-database. The initial steps was a feasibility study and followed by problem analysis of the old injury surveillance system. The researcher collected all data details to use for the new system analysis and design. The system design consists of system structure, subsystem functions, database structure, real time statistical reports which were based on the On-Line Analytical Processing (OLAP) approach, user interfaces and system security. After system design was finished, development, the testing and implementation steps were conducted. The development tools used were MySQL DBMS, PHP, Windows operating system. The result of this research was the prototype of Thai Pediatric Injury Surveillance database system consisting of functions which facilitate users to store, retrieve and produce useful reports for doctors, nurses, researchers and health care personnel to improve management and service more efficiently. The system evaluation was performed by a group of users who were management users, system administrator and operational users. The results of evaluation revealed that most users were highly satisfied with the system in all aspectsen_US
dc.contributor.coadvisorอดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์th_TH
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (3).pdfเอกสารฉบับเต็ม24.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons