Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10164
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธิติพงศ์ ขัตตะละ, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T06:46:10Z-
dc.date.available2023-10-31T06:46:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10164-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแพร่ และ (2) ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสมรรถนะของบุคลากรที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแพร่ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแพร่ จำนวน 119 แห่ง รวมทั้งสิ้น 431 คน ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาจำนวน 216 คน โดยคำนวณตามสูตรของทาโร่ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นต่อสมรรถนะของบุคลากรที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านคุณลักษณะของบุคคล มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านทักษะ และด้านความรู้ ตามลำดับ โดยเจ้าหน้าที่และบุคลากรให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีม และ (2) ปัญหาการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแพร่ พบว่า บุคลากรมีภาระงานมากเกินไป จำนวนบุคลากรและงบประมาณไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ส่วนข้อเสนอแนะเห็นสมควรให้หน่วยงานสรรหาบุคลากรให้เพียงพอกับพื้นที่ที่รับผิดชอบ พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน จัดสรรงบประมาณที่เพียงพอ ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม รวมทั้งเสริมสร้างแรงจูงใจ ขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่บุคลากรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล--ไทย--แพร่th_TH
dc.subjectสมรรถนะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleสมรรถนะของบุคลากรที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดแพร่th_TH
dc.title.alternativeHuman resource competencies resulting in the success of the performance of Health Promoting sub-district Hospitals in Phrae Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were: (1) to study opinions concerning to competencies resulting in the achievement of working performance of Health Promoting Sub-district Hospitals in Phare Province; and (2) to study the problems of competencies and suggestions which would be affiliated with the achievement of implementation of Health Promoting Sub-district Hospitals in Phare Province. The study was a quantitative research. The population was officials and hospital’s employees working for the Health Promoting Sub-district Hospitals in Phare Province. The samples used were selected by simple sampling at totally 216 officials. This research used a closed-ended questionnaire as a tool for quantitative research. Statistical analysis of data employed frequency distributions, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The study found that: (1) an overall opinion of competency components of officials and hospital’s employees in Health Promoting Sub-district Hospitals in Phare Province was accepted at a high level. Considering each component, it showed that the average of personal characteristic or attributes performed at the highest acceptance, followed by skills and knowledge respectively. The respondents prioritized team building; and (2) problems relating to the implementation of Health Promoting Sub-district Hospitals in Phare Province were over-tasked assignment and inadequacy of stuffs in responsible areas, and insufficiency of budget allocation. The suggestions for solution were the management of recruitment and sufficient placement, the development of human resources in necessary knowledge and working skills, a sufficient budget, boosting team working and encouraging of motivation and moralen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_138056.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.42 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons