Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชุติมา สัจจานันท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพวา พันธุ์เมฆา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพิศ ศิริรัตน์, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-26T02:32:36Z-
dc.date.available2022-08-26T02:32:36Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (สารสนเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และ (2) เปรียบเทียบการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาจําแนกตามตัวแปรด้านเพศ ชั้นปีที่ศึกษา สาขาวิชาที่ศึกษา ระดับผลการเรียน และประสบการณ์ในการเรียนวิชาเกี่ยวกับการสืบค้นสารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จํานวน 786 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบทดสอบ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีการเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษามีการรู้สารสนเทศโดยรวมอยู่ในระดับต่ำ โดยด้านที่อยู่ใน ระดับปานกลางมีด้านเดียว คือ ด้านการกำหนดชนิดและขอบเขตสารสนเทศ และ (2) ผลการ เปรียบเทียบการรู้สารสนเทศตามตัวแปรด้านชั้นปีที่ศึกษา และสาขาวิชาที่ศึกษา พบว่านักศึกษาชั้นปีที่ 3, 4, และ 5 มีการรู้สารสนเทศสูงกว่านักศึกษาชั้นปีที่ 1 และ 2 โดยนักศึกษาสาขาสังคมศึกษามีการรู้ สารสนเทศสูงกว่านักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษ สาขาคณิตศาสตร์ และสาขาภาษาไทย ส่วนตัวแปร ด้านเพศ ระดับผลการเรียน และประสบการณ์การเรียนวิชาเกี่ยวกับการสืบค้นสารสนเทศ ไม่พบความ แตกต่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.83-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. คณะครุศาสตร์ --นักศึกษาth_TH
dc.subjectการรู้สารสนเทศth_TH
dc.titleการรู้สารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลาth_TH
dc.title.alternativeInformation literacy of undergraduate students, Faculty of Education, Songkhla Rajabhat Universityth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2011.83-
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศิลปศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the information literacy level of the undergraduate students of the Faculty of Education at Songkhla Rajabhat University and (2) to compare the students information literacy level in five variables: gender, year of study, field of study, grade, and experience in the course of information retrieval. A sample used in this study was 786 undergraduate students of the Faculty of Education at Songkhla Rajabhat University who were studying in the first semester of academic year 2010. This sample was drawn through a stratified random sampling procedure. A test, which had the KR-21 reliability coefficient of 0.84, was used to measure the students’ information literacy level. Statistics used for analyzing data included percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Scheffe’s test. The research findings showed the following results: (1) The students had overall low information literacy level. Only the students’ ability to determine the extent of information needed was at a moderate level., and (2) the comparison of the students’ information literacy level in five variables showed that students in year 3, 4 and 5 had a higher information literacy level than those in year 1 and 2; students in social sciences had a higher information literacy level than those in special education, mathematics and Thai language, and no significant differences were found between the level of information literacy and the following variables: gender, grade, and experience in the course of information retrievalen_US
Appears in Collections:Arts-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext (4).pdfเอกสารฉบับเต็ม14.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons