Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัตth_TH
dc.contributor.authorชนิดา พุ่มชื่น, 2525-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T07:21:21Z-
dc.date.available2023-10-31T07:21:21Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10172en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เพื่อเสนอแนะแนวทางเสริมสร้างการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาประชากรทั้งหมดซึ่งได้แก่ บุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 103 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ หลักความรับผิดชอบและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ หลักความโปร่งใส (2) ผลการเปรียบเทียบพบว่าบุคลากรสายสนับสนุนคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และกลุ่มงาน แตกต่างกัน มีความเห็นต่อ การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล โดยรวมไม่แตกต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุนคณะวนศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในแต่ละด้าน ได้แก่ 1) ด้านหลักนิติธรรม คณะวนศาสตร์ ควรมีการชี้แจงทำความเข้าใจกับบุคลากรเกี่ยวกับแผนการปฏิบัติงานประจำปีของคณะวนศาสตร์ 2) ด้านหลักคุณธรรม คณะวนศาสตร์ควรจัดกิจกรรมหรือโครงการที่ส่งเสริมบุคลากรให้มีการปฏิบัติงานอย่างมีคุณธรรม 3) ด้านหลักความโปร่งใส คณะวนศาสตร์ควรปรับปรุง วิธีการประชาสัมพันธ์ การแจ้งข่าวสารข้อมูลในด้านต่าง ๆ ภายในคณะให้บุคลากรได้รับทราบอย่างทั่วถึง 4) ด้านหลักความมีส่วนร่วม คณะวนศาสตร์ควรเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในกิจกรรมหรือการกำหนดนโยบายของคณะให้มากขึ้น 5) ด้านหลักความรับผิดชอบ คณะวนศาสตร์ควรมีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างเป็นทางการ 6) ด้านหลักความคุ้มค่า คณะวนศาสตร์ควรส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติตามนโยบายการประหยัดพลังงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. คณะวนศาสตร์--การบริหารth_TH
dc.subjectธรรมรัฐth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์th_TH
dc.title.alternativeOperational performance in accordance with good governance principles of supporting staff, Faculty of Forestry, Kasetsart Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study the opinions of supporting staff of Faculty of Forestry, Kasetsart University, on operational performance of supporting unit, in accordance with good governance principles (2) compare the opinions of supporting staff of Faculty of Forestry, Kasetsart University, on operational performance of supporting unit, in accordance with good governance principles, classified by personal factors (3) propose ways to enhance operational performance of supporting unit in accordance with good governance principles. The study included whole population consisted of 103 supporting staff of Faculty of Forestry, Kasetsart University. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and One- Way Analysis of Variance. Study results were as followings (1) operational performance of supporting unit in accordance with good governance principles was at high level, with the highest mean on responsibility, and the lowest mean on transparency (2) when compared the opinions, no differences were found among opinions of those with different genders, ages, educational levels, and work groups (3) recommendations were: 1) on rule of law, the management should clarify to all staff the faculty annual action plan so to enhance their understanding 2) on moral principle, the management should arrange activities or projects that aimed to foster the staff morality 3) on transparency, the management should improve its public relations, including communication method, so consequently, clear information would be effectively sent to all staff 4) on participation, more participating opportunities in faculty’s activities and policy formulation should be provided to supporting staff 5) on responsibility, formal monitoring and performance appraisal systems should be set up 6) on value for money, the management should encourage all staff to seriously follow the faculty’s policy on energy savings.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_138809.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.7 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons