Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorกำพล ดำรงค์วงศ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาพร ก้อนเทียน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T07:45:43Z-
dc.date.available2023-10-31T07:45:43Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10176-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ เรื่องการนำเสนอ และการจัดเก็บสไลด์คอมพิวเตอร์ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนด 85/85 (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ(3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่องการนำเสนอ และการจัดเก็บสไลด์คอมพิวเตอร์ กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2550 จำนวน 32 คน ได้มาโดยสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่องการนำเสนอ และการจัดเก็บสไลด์คอมพิวเตอร์ จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 4 แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการนำเสนอด้วยสไลด์คอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 5 หลักการออกแบบ และผลิตสไลด์คอมพิวเตอร์ และหน่วยที่ 6 หลักการประเมิน การจัดเก็บ และ การนำเสนอสไลด์คอมพิวเตอร์ (2) แบบทดสอบก่อนเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน สถิติที่ใช้ได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพด้วยค่า E,/E การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพ 84.63/86.96, 83.88/85.65 และ 85.51/84.35 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 85/85 (2) นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย มีความก้าวหน้าทางการเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ(3) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อชุดการเรียนด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอยู่ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.146-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.titleชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ เรื่องการนำเสนอและการจัดเก็บสไลด์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตพื้นที่การศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2th_TH
dc.title.alternativeComputer-based instructional package via network in the presentation with computer course on presentation and filling of computer slides for Mathayom Suksa III students in Petchabun Educational Service Area 2th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.146-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were three-fold: (1) to develop a set of computer-based instructional packages via network in the Presentation with Computer Course on Presentation and Filing of Computer Slides for Mathayom Suksa III students in Phetchabun Educational Service Area 2 based on the 85/85 efficiency criterion;(2) to study the learning progress of Mathayom Suksa III students learning from the computer-based instructional packages via network; and (3) to study the opinion of Mathayom Suksa III students on the quality of computer-based instructional packages via network on Presentation and Filing of Computer Slides. The research sample employed for testing the efficiency of computer- based instructional packages via network consisted of 32 Mathayom Suksa III students studying in the second semester of the 2007 academic year in Petchabun Educational Services Area 2, obtained by multi-stage sampling. Research tools comprised (1) three units of computer-based instructional packages via network on Presentation and Filing of Computer Slides, namely, Unit 4: Basic Concepts in Computer Slides Presentation; Unit 5: Principles of Computer Slides Design and Production; and Unit 6: Principles of Evaluation, Filing, and Presentation of Computer Slides; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire asking the student's opinions on the quality of the computer-based instructional packages via network. Statistics used were the E,/E2 efficiency index, t-test, mean, and standard deviation. Research findings indicated that (1) the developed three units of computer- based instruction packages via network were efficient at 84.63/86.96, 83.88/85.65, and 85.51/84.35 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 85/85; (2) the students learning from the computer-based instructional package via network achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the opinions of the students on the quality of the computer-based instructional packages via network was at the "Highly Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.36 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons