Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10185
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธีระวุธ ธรรมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | รุจกัลยา ขาวเชาะ, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T08:27:10Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T08:27:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10185 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงประเมินผลครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บริบท ปัจจัยนำเข้ากระบวนการ และผลลัพธ์ของการดำเนินงานควบคุมการระบาดโรคหัดของอำเภอเมือง จังหวัดสตูล และ (2) ปัจจัยความสำเร็จของการดำเนินงานในการควบคุมการระบาดโรคหัดของอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ประชากร คือ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานสาธารณสุข บุคลากรของกองกองอาธารมสุข และสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ที่พบผู้ป่วยโรคหัด จำนวนทั้งหมด 36 คน เครื่องมือในการศึกษาเป็นแบบตรวจรายการ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน โดยค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบราคในแบบประเมิน ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ และด้านผลลัพธ์ เท่ากับ 0.74, 0.92, 0.93 และ 0.83 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลลัพธ์ใน การดำเนินงานควบคุมโรคหัดในพื้นที่ ผลการประเมินภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับดี และ 2) ปัจจัยความสำเร็จในการควบคุมการระบาดโรคหัดของอำเภอเมือง จังหวัดสตูล ได้แก่ การมีจัดตั้งทีมปฏิบัติงานที่ชัดเจน มีการวิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มการเกิดโรคในพื้นที่เพื่อนำมากำหนดแผนงานและแนวทางการดำเนินงานโดยผ่านการเห็นชอบจากผู้บริหาร การให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค โดยเน้นย้ำให้พื้นที่มีความครอบคลุมของวัคซีนให้ไห้ได้ตามเป้าหมาย มีการเฝ้าระวังมีการตรวจจับผู้ป่วยที่รวดเร็วและเก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการอย่างครบถ้วน ระบบการรายงานผู้ป่วยมีความรวดเร็วทันเวลา มีจำนวนบุคลากรเพียงพอและพร้อมสำหรับปฏิบัติงานด้านการสอบสวนและควบคุมโรค มีทรัพยากรด้านวัคซีน วัสดุอุปกรณ์ และระบบข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศมีพร้อมและเพียงพอในการปฏิบัติงาน และมีระบบการสื่อสารและประสานงานกับเครือข่ายและประชาชนในการลงพื้นที่ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรคระบาด--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | โรค--การควบคุม | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยความสำเร็จในการควบคุมการระบาดโรคหัดของอำเภอเมือง จังหวัดสตูล | th_TH |
dc.title.alternative | Factors in successful control of measles outbreak in Mueang District, Satun Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this evaluation research were to study: (1) context, inputs, processes and outputs in the control of a measles outbreak; and (2) factors in the successful control of a measles outbreak, in Mueang district, Satun province. The population of study was the executives and health officials of public health agencies as well as local administrative organizations in the areas where measles patients were detected. Study tools were a checklist, an interview and an evaluation form; with Cronbach’s alpha coefficients of the evaluation form, especially the context, input, process and output section were 0.74, 0.92, 0.93, and 0.83, respectively. Analyses were performed for quantitative data to determine frequencies, percentages, means, standard deviations, and for qualitative data using content analysis. The results indicated that, for the measles outbreak control in Mueang district: (1) concerning the context assessment, the inputs, processes and outputs in the outbreak control, as a whole and for each aspect, were at a good level; and (2) the key factors in the success of the outbreak control included a clearly established operation team, an analysis of the disease situation and trends leading to the properly developed action plans and operational guidelines approved by relevant executives, the focus on immunization operation and coverage, rapid surveillance and case detection efforts, completeness in specimen collection and laboratory examination, a fast and timely reporting system, adequate personnel with readiness for disease investigation and control, adequate vaccines as well as materials/equipment, sufficient and ready information technology systems, a good communication system, and a coordinated network with community or people’s participation at the local level | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
162200.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License