Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธาตรี สงวนถ้อย, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T08:29:18Z-
dc.date.available2023-10-31T08:29:18Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10186-
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้ต้องขังต่อการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้กระทำผิดคดียาเสพติด เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้ต้องขังเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช ต่อการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้กระทำผิดคดียาเสพติด เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษา ข้อเสนอแนะแนวทางสร้างเสริมการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้กระผิดคดียาเสพติด เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช ประชากร คือ ผู้ต้องขังคดียาเสพติด เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 2,647 คน กลุ่มตัวอย่าง 347 คน คำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบสะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบพหุคูณตามวิธีการนัยสำคัญตํ่าสุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นของผู้ต้องขัง เรือนจำกลางนครศรีธรรมราชต่อการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้กระทำผิดคดียาเสพติดโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากโดยประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การส่งผู้ต้องขังออกทำงานสาธารณะนอกเรือนจำ (2) การเปรียบเทียบความคิดเห็น พบว่าผู้ต้องขังที่มีอายุ และอาชีพก่อนต้องโทษแตกต่างกัน มีความเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่าง (3) ข้อเสนอแนะ ด้านการฝึกอบรม ควรจัดเพิ่มเนื้อหาการอบรมให้ครอบคลุมและเข้มข้นขึ้นเพื่อให้เกิดสมาธิและปัญญา จะได้นำไปปรับใช้ ด้านการศึกษา การศึกษาสายวิชาชีพ ควรเพิ่มทางเลือกเน้นอาชีพที่หลากหลาย ที่สามารถนำไปใช้ประกอบอาชีพได้จริงหลังพ้นโทษ และด้านการฝึกทักษะในทางวิชาชีพและการส่งนักโทษออกทำงานสาธารณะ ควรฝึกทักษะให้หลากหลายเหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบันสามารถนำไปประกอบอาชีพที่มีรายได้พอเลี้ยงครอบครัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช--การบริหารth_TH
dc.subjectนักโทษ--การฟื้นฟูสมรรถภาพth_TH
dc.subjectนักโทษ--การปรับพฤติกรรมth_TH
dc.subjectนักโทษ--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของผู้ต้องขังต่อการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้กระทำผิดคดียาเสพติด เรือนจำกลางนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeInmates' opinions on rehabilitation program provided to drug prisoners at Nakhon Si Thammarat Central Prisonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study inmates' opinions on rehabilitation program provided to drug prisoners at Nakhon Si Thammarat Central Prison (2) compare inmates' opinions on rehabilitation program provided to drug prisoners at Nakhon Si Thammarat Central Prison classified by personal factors (3) study recommendations to enhance rehabilitation program provided to drug prisoners at Nakhon Si Thammarat Central Prison. Population consisted of 2,647 inmates at Nakhon Si Thammarat Central Prison from which 347samples were obtained via Taro Yamane calculation. Instrument used was questionnaire. Convenient random sampling was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, F-test, and LSD. The findings were as followings (1) in the overall view, inmates' opinions on rehabilitation program provided to drug prisoners at Nakhon Si Thammarat Central Prison were at high level with the highest mean on permission to perform public work outside the prison (2) when compared the opinions, it was found that inmates with different ages and prior occupations had different opinions at 0.05 level of statistical significance (3) major recommendations were: training courses should be more intense so to instill wisdom to prisoners which would be useful to them afterwards, as for vocational study, more alternatives should be provided so the prisoners could have more choices to apply to their careers in the future, as for vocational skills training and sending prisoners to public work, various skills should be trained in accordance with changing social environment so those skills could be employed to earn for a living after the imprisonment was overen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_139303.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.21 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons