Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10187
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกกมล เหล่ารักษาวงษ์th_TH
dc.contributor.authorชลลดา โพธิกะ, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T08:33:33Z-
dc.date.available2023-10-31T08:33:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10187en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยกึ่งทดลองแบบแผนวัดผลก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการการคัดแยกขยะมูลฝอย 3R ในการลดปริมาณขยะในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (2) ระดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการการคัดแยกขยะมูลฝอย 3R ของบุคคลากรศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร และ (3) ปริมาณการใช้ขยะมูลฝอย 3 ชนิด (จำนวนชิ้น) ประกอบด้วย ถุงหูหิ้วพลาสติก แก้วพลาสติก และกล่องโฟม ของบุคลากร ประชากรที่ศึกษา คือ บุคลากรในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร ซึ่งคำนวณได้ทั้งหมด 95 คน โดยกลุ่มตัวอย่างจะได้รับการอบรมเกี่ยวกับวิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยรูปแบบ 3R และติดตามบันทึกปริมาณการใช้ขยะด้วยแบบบันทึกข้อมูลปริมาณขยะ PL1 ประกอบด้วย ถุงหูหิ้วพลาสติก แก้วพลาสติก และกล่องโฟม ระยะเวลาหลังการอบรม 6 เดือน (พ.ย.61 - เม.ย .62) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์และรายงานผล คือ สถิติพรรณนา ค่าแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับความรู้ และเปรียบเทียบปริมาณการใช้ขยะมูลฝอย 3 ชนิด (จำนวนชั้น) ประกอบด้วย ถุงหูหิ้วพลาสติก แก้วพลาสติก และกล่องโฟม ของบุคลากร เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการขยะ ด้วยสถิติทดสอบความแตกต่างระหว่างค่ากลางของสองสองประชากรที่มีการกระจายแบบปกติแต่ไม่อิสระต่อกันผลการศึกษา พบว่า (1) หลังจากอบรมให้ความรู้วิธีการคัดแยกขยะมูลฝอยรูปแบบ 3R พบว่า รูปแบบการคัดแยกขยะมูลฝอย 3R ตลอดระยะเวลา 6เดือน มีประสิทธิผลสามารถลดปริมาณขยะเฉลี่ยลง + S.D เท่ากับ 5.45 +6.67 (ชิ้น) (p-value <(2) คะแนนความรู้เฉลี่ย + S.D เพิ่มขึ้นเท่ากับ 1.13 + 0.75 (คะแนน) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติติที่ระดับ Mean difference = 1.13 (p-value < .001) waะ (3) ตลอดระยะเวลา 6 เดือน ปริมาณการใช้ขยะรวม 3ชนิดเฉลี่ย (จำนวนวนชิ้น) ประกอบด้วย ถุงหูหิ้วพลาสติก แก้วพลาสติก และกล่องโฟม ลดลงต่อเนื่องทุกเดือน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < .001) การศึกษา ครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า หลักการการลดและนำของเสียมาใช้ประโยชน์ 3R (Reduce, Reuse, and Recycle) เป็นหลักการการลดขยะหนึ่งวิธีที่สามารถช่วยจัดการคัดแยกขยะจากต้นทางแหล่งกำเนิดได้อย่างดี ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบให้แก่องค์กรอื่น ๆ ได้ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดปริมาณขยะมูลฝอยลงได้แล้ว ยังทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและสามารถลดมลพิษต่อโลกได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักอนามัย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.subjectขยะ--การจัดการth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการการคัดแยกขยะมูลฝอย 3R ในศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeEffectiveness of 3R solid waste management model in Public Health Center, health department of Bangkok Metropolitanen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental study with pretest-posttest measurements aimed to: (1) evaluate the effectiveness of a 3R (reduce, reuse and recycle) solid waste management program set up to improve awareness and reduce solid waste amounts; (2) study the knowledge levels of 3R solid waste management among personnel; and (3) determine the quantities of three types of solid waste used (plastic bags, plastic cups, and foam boxes) by staff, all at Public Health Centers under the Bangkok Metropolitan Administration’s Health Department. The population was personnel of all BMA’s Public Health Centers. The calculated sample size was 95 staff members; and all of them were trained in 3R solid waste separation. Then each of the participants was asked to record the quantities of plastic bags, plastic cups, and foam boxes they had used on a solid waste amount record form (PL1) for 6 months (November 2018–April 2019). Frequency distribution, percent, minimum, maximum, and means of samples were used for descriptive data analysis; and paired t-test was used to evaluate the efficiency of the 3R solid waste management program. The results showed that, after implementing the 3R solid waste management model for 6 months: (1) regarding program effectiveness, the quantity or number of solid waste pieces dropped on average by 5.45 (± 6.67 SD, p-value < .001); (2) the average knowledge score in the posttest was higher than pretest by 1.13 (± 0.75 SD; p-value < .001); and (3) overall, the average number of plastic waste pieces used decreased significantly every month (p-value < .001). In conclusion, the 3R solid waste management program can effectively reduce the amount of solid waste at source and is applicable for other organizations. In addition to decreasing the amount of solid waste, it also enhances resource use effectiveness, environmental conservation, and global pollution reduction.en_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162202.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.32 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons