กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10192
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอทิตพงศ์ พิมสาร, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T02:00:46Z-
dc.date.available2023-11-01T02:00:46Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10192-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของทีม (2) ระดับผลการปฏิบัติงาน (3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยการทำงานเป็นทีมกับผลการปฏิบัติงานของทีม (4) เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ พนักงานบริษัท วิศวกิจพัฒนา จำกัด จำนวน 350 คน โดยกลุ่มตัวอย่างได้จากการคำนวณตามสูตรของยามาเน่ จำนวน 187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่าของลิเคริท สถิติที่ใช้ในการศึกษา คือ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของทีม ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับของผลการปฏิบัติงานของทีม ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (3) ด้านความสัมพันธ์ของปัจจัยการทำงานเป็นทีมกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท วิศวกิจพัฒนา จำกัด พบว่า มีความสัมพันธ์ในภาพรวมและรายย่อยอยู่ ในระดับสูงและเป็นความสัมพันธ์เชิงบวก (4) การเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานของทีมจำแนกตามปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานบริษัท วิศวกิจพัฒนา จำกัด พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านเพศ อายุ รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาการปฏิบัติงาน ระดับตำแหน่งงาน และแผนกที่ปฏิบัติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทวิศวกิจพัฒนา จำกัด--พนักงาน--การทำงานth_TH
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยด้านทีมงานที่ส่งผลกระทบต่อผลการปฏิบัติงานของทีม กรณีศึกษา : บริษัทวิศวกิจพัฒนา จำกัดth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting teamwork performance : a case study of the Visavakit Patana Corporation limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed : (1) to study the teamwork factors affecting team performance (2) to study the teamwork performance (3) to study the relationship of the factors that affect the performance and team performance level (4) and to compare the teamwork performance with respect to personal characteristics This stady was a survey research the population consisted of 350 employees. The sampling was 187 members specified according to Yamane’s and the Likert scale questionnaire was employed to collect data. The statistics used formula for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way ANOVA and least significance difference The result revealed that (1) the teamwork factors affecting team performance in overall were at the high level (2 )the teamwork performance were at the high level in overall (3) the relationship of factors that affect the performance and team performance indicated a strong and positive relation both in overall and individual items (4) with respect to comparison of the teamwork factors with that of personal factors the result indicated the statistical significant difference on, gender, age, monthly income, period of performance, job title and office attachment at the 0.05 level of significance. Other personal characteristics including marital status and education found no significant differenceen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
FULLTEXT_139343.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.92 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons