Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธพร อิสรชัย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมยุรี พรหมตรัง, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T02:17:41Z-
dc.date.available2023-11-01T02:17:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10194-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31 -40 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพรับจ้าง และมีรายได้ไม่เกิน 10,000 บาท (2) การไปใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า ส่วนใหญ่ไปทุกครั้ง การไปใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงครามเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 พบว่า ส่วนใหญ่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง สาเหตุที่ไม่ไปเลือกตั้ง เนื่องจากเบื่อหน่ายการเลือกตั้ง การติดตามข่าวสารการเลือกตั้งจากป้ายโฆษณา/โปสเตอร์/แผ่นปลิว และสาเหตุของการที่ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เนื่องจากเป็นการส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย ไปด้วยจิตสำนึก (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554 พบว่าในภาพรวมเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก ด้านคุณสมบัติของกลุ่มการเมือง โดยหัวหน้ากลุ่มการเมืองมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ด้านคุณสมบัติของผู้สมัคร (4) ผลการทดสอบสมมติฐาน ปัจจัยด้านสื่อประชาสัมพันธ์มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการไปใช้สิทธิเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่น--ไทย--สมุทรสงครามth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งท้องถิ่นth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleพฤติกรรมการลงะแนนเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2554th_TH
dc.title.alternativeVoting behavior in the elecion for Samut Songkhram Provincial Administrative Organization chairman on 31 July 2011en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) voting behavior in the election for Samut Songkhram Provincial Administrative Organization (PAO) chairman; and (2) factors that were related to voting behavior in the election for Samut Songkhram PAO chairman on 31 July 2011. This was both a quantitative and a qualitative research. The sample population for the quantitative portion, chosen through random sampling, was 419 voters in Samut Songkhram, and the key informants for the qualitative portion, chosen through purposive sampling, were 13 representatives of people’s networks in Samut Songkhram. Data were collected using a questionnaire and an interview form and were analyzed using percentage, mean, standard deviation, chi square and descriptive analysis. The results showed that (1) The majority of the sample population were female, age between 31 – 40, educated to the level of primary school, worked as employees and had income of no more than 10,000 baht a month. (2) Most of the people surveyed said they voted in the election for chairman of the PAO every time and had voted in the 31 July 2011 election. Most of those who did not vote gave as the reason that they were tired of elections. Most of those that did vote gave as the reason that democracy is being promoted and they felt it was their duty. They kept abreast of election news from posters, advertisements and fliers. (3)Most of the sample population strongly agreed with voting in the election for Samut Songkhram PAO chairman on 31 July 2011. They agreed with the qualifications of political groups, giving the highest mean score for the category of head of the political group, followed by candidates’ qualifications. (4) Hypothesis testing showed that the factor of public relations media was related to voting behavior in the election for Samut Songkhram PAO chairman on 31 July 2011.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
135794.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons