Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปารียา แก้วธรรม-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T02:23:57Z-
dc.date.available2023-11-01T02:23:57Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลของการพัฒนาความฉลาดทาง อารมณ์ของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการ และ (2) เปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนกลุ่มทดลองภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว แบบบูรณาการและนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านบักดอง จังหวัด ศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2550 ได้มาจากการประเมินความฉลาดทางอารมณ์ จำนวน 40 คน จากนั้นจึงสุ่มอย่างง่ายเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยดำเนินการกับกลุ่ม ทดลองโดยใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการ จำนวน 14 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที และกลุ่ม ควบคุมได้รับโปรแกรมการให้ข้อสนเทศจำนวน 14 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที เช่นเดียวกัน เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการสำหรับกลุ่มทดลอง (2) โปรแกรม การให้ข้อสนเทศสำหรับกลุ่มควบคุม (3) แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของกรมสุขภาพจิต ใช้คัดแยกนักเรียนที่มีความฉลาดทางอารมณ์สูง ปานกลาง ต่ำ (4) แบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการนักเรียนกลุ่ม ทดลอง มีความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการนักเรียน กลุ่มทดลองมีความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่านักเรียนกลุ่มควบคุมที่ใช้โปรแกรมการให้ข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.193-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์--ไทย--ศรีสะเกษth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวแบบบูรณาการที่มีต่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านบักดอง จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using an integrated guidance activities package on development of emotional quotient of Pratom Suksa V students of Ban Bakdong School in Si Sa Ket Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.193-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to: (1) compare the effects on development of emotional quotient of the experimental group prior to and after using an integrated guidance activities package; and (2) compare the emotional quotient of the experimental group students using an integrated guidance activities package with that of the control group students using the provided information program. The subjects were 40 Prathom Suksa V students of Ban Bakdong School in Si Sa Ket province in the 2007 academic year obtained as a result of evaluation of their emotional quotient. After that, they were randomly assigned into an experimental group and a control group each of which comprised 20 students. The researcher trained the experimental group with the use of an integrated guidance activities package for 14 periods of 50 minutes each; while the control group was trained from a provided information program also for 14 periods of 50 minutes each. The employed research instruments were (1) an integrated guidance activities package for the experimental group, (2) an information program for the control group, (3) the emotional quotient assessment form of the Department of Mental Health for classifying the students into the high, medium, and low emotional quotient groups, and (4) an emotional quotient assessment form developed by the researcher with .92 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings were (1) after using the integrated guidance activities package, emotional quotient scores of the experimental group students were significantly higher than their counterpart scores before using it at the .05 level; and (2) after using the integrated guidance activities package, emotional quotient scores of the experimental group was significantly higher than the counterpart scores of the control group using the information program at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons