Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10203
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศรีธนา บุญญเศรษฐ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุธรรม จันนุ้ย, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T03:06:57Z-
dc.date.available2023-11-01T03:06:57Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10203-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง (2) เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง การศึกษาครั้งนี้ประชากร คือ ข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง จำนวน 339 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบผลต่างน้อยที่สุด เป็นรายคู่ด้วยวิธีของเซฟเฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ภายในองค์กรและสังคมภายนอก อยู่ในระดับสูง รองลงมาคือด้านสิทธิของพนักงาน ด้านเวลา ทำงานกับชีวิตส่วนตัว ด้านโอกาสในการพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคคล ด้านการบูรณาการทางสังคมหรือการทำงานร่วมกัน ด้านความมั่นคงและความก้าวหน้าในการทำงาน ด้านสภาพการทำงานที่ดีมีความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ และ ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ตามลำดับ (2) ข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง ที่มี อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการรับราชการและรายได้ต่อเดือน แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนข้าราชการที่มี เพศ สังกัดส่วนงาน ตำแหน่งงานแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกัน (3) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดในเขตภาคกลาง ได้แก่ การผลักดันนโยบายด้านสวัสดิการและค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับค่าครองชีพในปัจจุบัน การปรับปรุงสถานที่ทำงานให้เหมาะสมกับปริมาณงานและเจ้าหน้าที่ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น และการมีหน่วยงานให้คำปรึกษาด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม--ข้าราชการth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงาน--ไทย (ภาคกลาง)th_TH
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ในเขตภาคกลางth_TH
dc.title.alternativeQuality of working life of the officials of Provincial Environment and Natural Resources office in the central regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe aims of this study were (1) to study the levels of quality of working life (QWL) of the government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region; (2) to compare the QWL of the government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region classified by personal characteristic; and (3) to define the ways of improving the QWL of government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region. Population was 339 of the government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region. The sample consisted of 184 staff calculated by random method. Questionnaire was employed for data collection. The data analysis was used percentage, mean, standard deviation, t-Test, One-Way ANOVA and Scheffe’s test. The results of this study were (1) the overall QWL of government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region was at a moderate level. Classified by aspects, the organization had high relevance to external environment, followed by the employee rights, work and personal life, the opportunity to develop staff’s abilities, social integration or collaboration, job security and achievement, safety and healthy working conditions, and adequate and fair compensation, respectively; (2) the government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region with different age, marital status, education, working experiences and revenue had different QWL with statistically significant at 0.05 level. The government officials with different sex, department, and job position had no different QWL; and (3) the approaches for improving QWL of the government officials of Provincial Environment and Natural Resources Office in the central region were to improve welfare and benefit policy related to the standard living cost. In addition, the redecoration of working place suitable for labor forces and the consulting sector for job promotion were considered as importanten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_130789.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons