Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเจตน์ รอดอ่อน, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T04:23:14Z-
dc.date.available2023-11-01T04:23:14Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10213-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความเครียดจากการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 และ (3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการจัดการความเครียดในการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการและบุคลากรของศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 ประจำปี 2554 จำนวน 278 คน จากประชากรทั้งสิ้น 908 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) ข้าราชการศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 มีความเครียดในการปฏิบัติงานโดยภาพรวมในระดับน้อย (2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานได้แก่ ปัจจัยปัญหาด้านความสำเร็จและความก้าวหน้าในอาชีพ ซึ่งมีผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ปัจจัยปัญหาด้านลักษณะงาน บทบาทหน้าที่โครงสร้างและบรรยากาศขององค์กร และสัมพันธภาพในการทำงาน ไม่มีผลต่อความเครียดของข้าราชการศาลยุติธรรมสังกัดภาค 4 (3) ความคิดเห็นที่สำคัญเกี่ยวกับแนวทางการจัดการความเครียด ได้แก่ ควรเน้นการจัดการความเครียดโดยให้ความสำคัญกับการปรับโครงสร้างและบรรยากาศในองค์กรให้เอื้อต่อการปฏิบัติงาน นอกจากนั้น ควรพิจารณาให้บุคลากรรับการอบรมพัฒนาตามความเหมาะสม จัดให้มีการหมุนเวียนงานเพื่อลดความซ้ำซากจำเจในการทำงาน และ ควรกำหนดบทบาทหน้าที่ของบุคลากรอย่างชัดเจนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectศาลยุติธรรม สังกัดภาค 4--ข้าราชการและพนักงาน--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดจากการปฏิบัติงานของข้าราชการศาลยุติธรรม สังกัดภาค 4th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting work stress of Justice Cour Officers, Region 4en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study (1) level of work stress of Justice Court Officers, Region 4 (2) factors affecting p work stress of Justice Court Officers, Region 4 (3) opinions of the officers on the approaches to manage work stress of Justice Court Officers, Region 4. Samples were 278 officers of Justice Court located in Region 4, calculated from population of 908. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression. Research results revealed that (1) work stress of officers of Justice Court in Region 4, in general, was in low level (2) factors affecting work stress were problems in work achievement and advancement, which affected work stress with 0.05 level of statistical significance; while other factors including problems in work itself, roles and responsibilities, organizational structure and atmosphere, and relationship with others, had no effect on work stress (3) major opinions on work stress management were: the organization should put the emphasis on the adjustment of organizational structure and atmosphere to foster the officers’ operation, moreover, officers should be provided with appropriate training and development, job rotation should be assigned to reduce boring from routine operation, and also, roles and responsibilities of the officers should be clearly defineden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_132752.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons