Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10217
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขุมาลย์ ชำนิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพรรณี สรรค์นิกร, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T06:18:54Z-
dc.date.available2023-11-01T06:18:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10217-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับความคิดเห็นของข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ส่วนกลาง) เกี่ยวกับปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ส่วนกลาง) ในการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร ได้แก่ ข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นที่ปฏิบัติงานในส่วนกลาง จำนวน 516 คน การกำหนดกลุ่มตัวอย่างใช้หลักการคำนวณของ ทาโร ยามาเน่ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 225 คน เครื่องมือในการวิจัยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ส่วนกลาง) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ระดับความคิดเห็นของเกี่ยวกับปัจจัยด้านการปฏิบัติงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ปัจจัยด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาและเพื่อนร่วมงาน ปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยด้านเงินเดือนและค่าตอบแทน อยู่ในระดับปานกลาง (2) ปัจจัยด้านเงินเดือนและค่าตอบแทน ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน และผู้บังคับบัญชา ปัจจัยด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น--ข้าราชการ--ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามความคิดเห็นของข้าราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (ส่วนกลาง)th_TH
dc.title.alternativeFactors related to performance efficiency as perceived by the officials of the Department of Local Government (central)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe study of these objectives were: (1) to study the opinion level of the officials at the Department of Local Government (central) on the operational aspects and operational efficiency; and (2) factors relating to the performance of officials in the Department of Local Government (central). This survey research was studied in the population of 516 officials at the Department of Local Government (central) and 225 officials were determined using the calculation of the Taro Yamane by stratified random sampling. The research tool used was a questionnaire. Descriptive analysis of data used percentage, mean, standard deviation, and Pearson Correlation Coefficient. The results showed that (1) level of overall performance as perceived by the Department of Local Government (central) was at the high level. The comments concerning the overall operational aspects was at the high. Considering in each aspect, Factors in their success, factors associated with supervisors and colleagues, factor in their progress, and environmental factors were at the high level. Those factors related to salary and benefit costs were at the middle level; and (2) factors of salary and benefit costs, factors associated with co-workers and supervisors, factor in their progress, environmental factors in their work, and factors of success in their work hard relationship with effective work performance. at statistically significant level of 0.05en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT_133769.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons