Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10222
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | อรอุมา หัสชัย, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-01T07:21:58Z | - |
dc.date.available | 2023-11-01T07:21:58Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10222 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อหาปริมาณการผลิตหม้อลมเบรกที่เหมาะสมของบริษัทบ๊อช ออโตโมทีฟ (ประเทศไทย) จำกัด ที่ทำให้กำไร ชั่วโมงทำงาน และสินค้าคงคลังในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกรกฎาคม เบี่ยงเบนจากเป้าหมายน้อยที่สุด วิธีดำเนินการศึกษาเริ่มจาก การศึกษาข้อมูลและข้อจำกัดในการผลิตหม้อลมเบรก ศึกษาทฤษฎีการโปรแกรมเชิงเส้น การโปรแกรมเป้าหมาย และทฤษฎีการวางแผนการผลิต จากนั้นสร้างตัวแบบการโปรแกรมเป้าหมายเพื่อนำไปหาคำตอบที่ดีที่สุดโดยใช้โปรแกรม ลินโด ผลการศึกษา การใช้ตัวแบบการโปรแกรมเป้าหมายพบว่า ปริมาณการผลิตที่เหมาะสม เดือนพฤษภาคม มีดังนี้ ผลิตภัณฑ์ชนิดที่1 9,493 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่2 1,211 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่3 1,272 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 4 2,365 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 5 467 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่6 2,984 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 7 942 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 8 237 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 9 31 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 10 ไม่มีการผลิต เดือนมิถุนายน มีดังนี้ ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 1 6,012 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 2 3,573 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่3 1,087 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 4 ไม่มีการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 5 440 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 6 3,174 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 7 876 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 8 620 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 9 86 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 10 ไม่มีการผลิต และเดือนกรกฎาคม มีดังนี้ ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 1 8,137 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 2 2,962 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 3 1,561 ชื้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 4 ไม่มีการผลิต ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 5 360 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 6 3,384 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 7 684 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 8 675 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ชนิดที่ 9 110 ชิ้น ผลิตภัณฑ์ที่ 10 ไม่มีการผลิต โดยมี ค่าเบี่ยงเบนจากเป้าหมายน้อยที่สุด ดังนี้ เดือนพฤษภาคม กำไรต่ำกว่าเป้าหมาย 15,984 บาท ชั่วโมง การทำงานสูงกว่าเป้าหมาย 16 ชั่วโมงและสินค้าคงคลังสูงกว่าเป้าหมาย 35 ชิ้น เดือนมิถุนายน กำไรได้ตามเป้าหมาย ชั่วโมงการทำงานดีกว่าเป้าหมาย 11 ชั่วโมงและสินค้าคงคลังสูงกว่าเป้าหมาย 276 ชิ้น และเดือนกรกฎาคม กำไรต่ำกว่าเป้าหมาย 23,115 บาท ชั่วโมงการทำงานสูงกว่าเป้าหมาย 3 ชั่วโมงและสินค้าคงคลังสูงกว่าเป้าหมาย 215 ชิ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | โรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การกำหนดปริมาณการผลิตที่เหมาะสมสำหรับโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์โดยใช้ตัวแบบการโปรแกรมเป้าหมาย | th_TH |
dc.title.alternative | Using goal programming for optimal production of auto-parts manufacturing | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of the study was to calculate the optimal production of booster-brake of Bosch Automotive (Thailand) Co.,Ltd that had affected profits, working hours and inventories between May to July deviated from the target at the least level. The study process started by studying information and a limitation of booster brake production line, studying Linear Programming, Goal Programming, and Production Planning concepts then modeling Goal Programming in order to solve the best solution by applying Lindo Programming. The result showed that the optimal production in May was as follows; product no.1 was 9,493 pieces, product no.2 was 1,211 pieces, product no.3 was 1,272 pieces, product no.4 was 2,365 pieces, product no.5 was 467 pieces, product no.6 was 2,984 pieces, product no.7 was 942 pieces, product no.8 was 237 pieces, product no.9 was 31 pieces, and product no.10 was no production. The optimal production in June was as follows; product no.1 was 6,012 pieces, product no.2 was 3,573 pieces, product no.3 was 1,087 pieces, product no.4 was no production, product no.5 was 440 pieces, product no.6 was 3,174 pieces, product no.7 was 876 pieces, product no.8 was 620 pieces, product no.9 was 86 pieces, and product no.10 was no production. The optimal production in July was as follows; product no.1 was 8,137 pieces, product no.2 was 2,962 pieces, product no.3 was 1,561 pieces, product no.4 was no production, product no.5 was 360 pieces, product no.6 was 3,384 pieces, product no.7 was 684 pieces, product no.8 was 675 pieces, product no.9 was 110 pieces, and product no.10 was no production. The target deviation at the least level was as follow; the profit decreased 15,984 THB, the workload increased 16 hours, and the inventory increased 35 pieces in May; the targeted profit, the workload increased 11 hours, and the inventory increased 276 pieces in June; and the profit decreased 23,115 THB, the workload increased 3 hours, and the inventory increased 215 pieces in July | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT_134097.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License