Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10229
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพth_TH
dc.contributor.authorหริพล ธรรมนารักษ์th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-01T08:22:07Z-
dc.date.available2023-11-01T08:22:07Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10229en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษาเรื่อง การถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) เพื่อศึกษา ความก้าวหน้าในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนจากชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษาเรื่องการถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษา และ (3) เพื่อศึกษาความ คิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา เรื่องการถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา จำนวน 43 คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษาโดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยประกอบด้วย ต้นแบบชิ้นงาน คือชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาเทคโนโลยี เทคนิคศึกษา เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จำนวน 3 หน่วย แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน และ แบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพของชุดการเรียน ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาเทคโนโลยีเทคนิค ศึกษา เรื่อง การถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษามีประสิทธิภาพ 82.80/82.33, 81.67/79.33, 81.11/80.33 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 (2) นักศึกษามีความก้าวหน้าทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระดับ .05 และ (3) นักศึกษามีความคิดเห็นต่อคุณภาพชุดการเรียนในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.86en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectการถ่ายภาพ--คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาชุดการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย วิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา เรื่องการถ่ายภาพเพื่อผลิตสื่อเทคนิคศึกษาสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาth_TH
dc.title.alternativeComputer-based learning package via network in technology in technical education on photography in technical education media production for undergraduate students at Lanna Rajamangala University of Technologyth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.86-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to develop Computer-Based Learning Package via Network in Technology in Technical Education on Photography in Technical Education Media Production course that used for undergraduate student at Lanna Rajamangala University of Technology based on the efficiency standard; (2) to study learning achievement progress of students learning from the developed computer-base learning package; and (3) to study the students' opinions on the computer- based learning packages via the network on the Print Media for students of the communication arts. The sample of this study was the 43 second- year student who took Technology in Technical Education course by purposively selected. The research instruments were (1) three computer- base learning packages via network; (2) the parallel pre-test and post-test; and (3) the questionnaires to investigate student's opinions on the quality of the computer-base learning packages. A statistic technique was used to analyses were E1/E2, arithmetic means, standard deviation and t-test. The results of study indicated that: (1) the three computer-based learning packages via the network had efficient 82.80/82.33, 81.67/79.33 ,81.11/80.33 respectively, thus meeting theset of 80/80 efficency criterion; (2) the student's learning achievement increased significantly at the .05 level. (3) the student's opinions rated the quality of computer-based learning packages via the network lessons at highly appropriate.en_US
dc.contributor.coadvisorกำพล ดำรงค์วงศ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons