Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10272
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | วีระ ทับทิมทอง, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-03T03:31:35Z | - |
dc.date.available | 2023-11-03T03:31:35Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10272 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การศึกษาถึงปัจจัยหรือลักษณะสำคัญที่มีผลต่อการก่อเกิดกลุ่มการเมืองท้องถิ่น (2) ศึกษาบทบาททางเลือกของกลุ่มการเมืองท้องถิ่นผล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกสมาชิกกลุ่มการเมืองท้องถี่น กลุ่มตัวอย่างข้าราชการ และกลุ่มตัวอย่างประชาชนในพื้นที่ จำนวน 21 คน รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิจัยพบว่า (1) กลุ่มการเมืองท้องถิ่นเกิดขึ้น โดยอาศัยปัจจัยความสัมพันธ์ส่วนตัวระหว่างหัวหน้ากลุ่มและสมาชิกกลุ่มตามลักษณะระบบอุปถัมภ์ โดยมีลักษณะการรวมตัวกันอย่างหลวม ไม่มีการจัดองค์การอย่างเป็นทางการภายในกลุ่ม การรักษาสถานภาพของกลุ่มการเมืองท้องถิ่นดังกล่าวขึ้นอยู่กับการจัดสรรผลประโยชน์โดยเฉพาะตำแหน่งให้กับสมาชิกกลุ่มภายหลังการเลือกตั้ง (1) ทางการเมืองของกลุ่มเน้นกิจกรรมการสมัครรับเลือกตั้งเพื่อเป็นสมาชิกสภาเทศบาลและการเข้าไปบริหารงานในท้องถิ่นโดยเป็นการรวมตัวเฉพาะหน้าเพื่อเข้าแข่งขันการเมืองโดยการสมัครรับเลือกตั้งแต่ละครั้งเป็นสำคัญ และอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวเป็นหลักส่วนการรักษาความเป็นกลุ่มไว้ได้นั้นขึ้นอยู่การจัดสรรผลประโยชน์ภายหลังการเลือกตั้งให้เป็นที่พอใจแก่สมาชิกผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นส่วนใหญ่ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเมือง--ไทย | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การก่อเกิดและบทบาททางการเมืองของกลุ่มการเมืองท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี เทศบาลตำบลโพนางดำ อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท | th_TH |
dc.title.alternative | Arising and political role of local political groups : a case study of Pho Nang Dam Sub-district, Sapphaya District, Chainat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study (1) the factors or characteristics that lead to the arising of local political groups and (2) alternative roles of local political groups. This was a qualitative research. Data were collected from related documents and from in-depth interviews with 21 key informants, consisting of members of local political groups, government employees, and citizens in Pho Nang Dam Sub-district, Sapphaya District, Chainat Province. The results showed that: (1) local political groups arose from personal relationships between the group’s leader and members under the system of mutual obligations. The local political groups were loosely organized with no official internal management. The continued existence of the local political groups depended on the distribution of benefits, especially official positions, to the group members after elections. (2) The main political role of the groups was to run for the office of municipal council member. The groups’ main local administrative activities were ad hoc activities, i.e. campaigning during election time. The role relied mainly on personal relationships. The continued existence of the groups depended mainly on the members’ satisfaction with the distribution of benefits after elections. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140480.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License