Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10274
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชรินทร์ สันประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorแวสะมะแอ เจ๊ะหะ, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T03:40:05Z-
dc.date.available2023-11-03T03:40:05Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10274-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำท้องที่กับพรรคการเมือง ที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ของจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 เฉพาะอำเภอบาเจาะ (2) ศึกษาแรงจูงใจหรือปัจจัยที่มีต่อ ผู้นำท้องที่ในการพิจารณาสนับสนุนพรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ของจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 เฉพาะ อำเภอบาเจาะ (3) ศึกษาบทบาทของผู้นำท้องที่ในการชี้นำหรือส่งเสริมให้ประชาชนในเขตปกครองของตนเลือก พรรคการเมืองที่ได้สนับสนุน ผลการวิจัย (1) ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำท้องที่กับพรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ของจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 เฉพาะอำเภอบาเจาะ พบว่า เป็นไปในลักษณะของความสัมพันธ์ในระดับของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กับผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นส่วนใหญ่ ในส่วนของผู้สมัครรับเลือกตั้งส่วนใหญ่จะเป็น ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เล่นการเมืองมานาน ทั้งเคยเป็นสมาชิกสภาท้องถิ่น และเคยช่วยงาน ของพรรคการเมืองมานาน ซึ่งจะต้องลงพื้นที่ เพื่อพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนอยู่อย่างต่อเนื่องเกิดความสนิทสนมกัน (2) แรงจูงใจหรือปัจจัยที่มีต่อผู้นำท้องที่ในการพิจารณาสนับสนุนพรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไป เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ของจังหวัดนราธิวาส เขตเลือกตั้งที่ 4 เฉพาะอำเภอบาเจาะ พบว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับนโยบายและอุดมการณ์ของพรรคเป็นส่วนใหญ่ และมีจำนวนมากที่สุด รองลงมาคือ รู้จักเป็นการส่วนตัว เครือญาติกัน ผลงาน และเคยมีบุญคุณต่อกัน ส่วนผู้สมัคร รับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็ได้ใช้แรงจูงใจหรือปัจจัยเช่นเดียวกันกับกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน (3) บทบาทของ ผู้นำท้องที่ในการชี้นำหรือส่งเสริมให้กับประชาชนในเขตปกครองของตนเลือกพรรคการเมืองที่ได้สนับสนุน พบว่า กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ส่วนใหญ่และเป็นจำนวนมาก เลือกที่ ไม่ใช้อำนาจหน้าที่ในการชี้นำและส่งเสริมโดยการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งด้วยตนเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน--กิจกรรมทางการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการสนับสนุนพรรคการเมืองของผู้นำท้องที่ในจังหวัดนราธิวาส : ศึกษาเฉพาะผู้นำท้องที่ของอำเภอบาเจาะth_TH
dc.title.alternativeFactors that to supporting political party of local adminstrator in Narathiwat Province : especially studied of local administrator in Bacho Districten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the relationship of local administrator with the political parties that ran candidates in Bacho District, Narathiwat Province, for the general Parliamentary elections on 3 July, 2011; (2) the incentives or factors that led the local administrator to support a particular political party for that election; and (3) the role of local administrator in advocating or promoting a particular political party among the voters in their area. This was a qualitative research. The sample population, chosen through purposive sampling, consisted of 46 kumnan/village headmen and 6 political candidates who ran for seats in Parliament representing Narathiwat Province, Zone 4. Data were collected using an interview form and analyzed using descriptive analysis. The results showed that (1) In most cases, the relationship between the local administrator and the political candidates was a relationship between kumnan/village headman and politician running for a seat in Parliament. Most of the candidates in the case study were long-time politicians who had previously been members of local councils and had worked for their political parties for a long time. They frequently went around to visit people and become close with the voters in their constituencies. (2) The main factor that influenced local administrator to support a political party was the party’s policies and ideals. The other factors that were rated less important were personal or family relationships, work results, and feelings of obligation for past assistance. The candidates cited the same incentives and factors as the local administrator did. (3) Almost all the local administrator and parliamentary candidates said they did not use their power and authority to advocate or promote a particular political party but wanted to give all the citizens the opportunity to participate in elections freely and independentlyen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140818.pdfเอกสารฉบับเต็ม31.93 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons