Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10280
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิศาล มุกดารัศมี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชัย กำจรกิจบวร, 2500--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T06:33:38Z-
dc.date.available2023-11-03T06:33:38Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10280-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษามุมมองทางการเมืองของนักวิชาการมาร์ก ซิสต์ไทย เกษียร เตชะพีระและ พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์โดยมุ่งเน้นในเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐไทยระหว่างพ.ศ. 2525-2555 ผลการวิจัยพบว่ามุมมองของนักวิชาการมาร์กซิสต์ต่อพัฒนาของรัฐไทยแบ่งออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงแรก ระหว่าง พ.ศ. 2524 - 2534 มีพัฒนาการเป็น 7 มุมมอง คือ 1)ลัทธิมาร์กซ์คลาสสิค 2) ลัทธิทรอตสกี้ 3)ลัทธิมาร์กซ์ตะวันตก 4) ทฤษฎีพึ่งพา 5) วัฒนธรรมชุมชน 6) พุทธศาสนา และ 7) ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และในช่วงที่สอง หลัง พ.ศ. 2535 มุมมองต่อพัฒนาการของรัฐไทยมุ่งไปสู่การแก้ปัญหาอันเกิดจากรัฐ เช่น การสถาปนาการเมืองภาคประชาชน กระบวนการปฏิรูปการเมืองและการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกรัฐสภาของกลุ่มต่าง ๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการพัฒนาทางการเมืองth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--รัฐศาสตร์th_TH
dc.titleมุมมองของนักวิชาการมาร์กซิสต์ไทยต่อพัฒนาการของรัฐไทยระหว่างพ.ศ.2525-2555 : ศึกษาผลงานของ เกษียร เตชะพีระ และพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์th_TH
dc.title.alternativeThe marxism perspective of Thai scholars with the development of the Thai' state during 1982-2012 : a study from the work of Kasian Tejapira and Pichit Likitkijsomboonen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims to study the political perspective of the Thai Marxist scholars Kasian Tejapira and Pichit Likitkijsomboon, focusing on the Thai state during the period A.D.1982-2012 . This study is a qualitative research based on gathering and reviewing all the documents of Kasian Tejapira and gathering data in a non structured interview with Pichit Likitkijsomboon. Descriptive analysis of data is also used in this study. The results showed that the political perspective of Thai Marxist political scholars on the development of the Thai’state are two periods. The first period during A.D.1981-1991, it had 7 traits of thought, comprising (1) Classic Marxism; (2) Trotskyism; (3) Western Marxism; (4) Dependency Theory; (5) Community Culture; (6) Buddhism; and (7) Parliamentary Democracy. The second period, after year A.D.1992, the development of Thai’ state aimed to solve the politics’ problems, including the inaugural people’s politics, the political reform movement and the country's parliamentary groupsen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
149694.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons