กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10280
ชื่อเรื่อง: | มุมมองของนักวิชาการมาร์กซิสต์ไทยต่อพัฒนาการของรัฐไทยระหว่างพ.ศ.2525-2555 : ศึกษาผลงานของ เกษียร เตชะพีระ และพิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Marxism perspective of Thai scholars with the development of the Thai' state during 1982-2012 : a study from the work of Kasian Tejapira and Pichit Likitkijsomboon |
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: | พิศาล มุกดารัศมี สมชัย กำจรกิจบวร, 2500- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ |
คำสำคัญ: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี การเมือง--ไทย การพัฒนาทางการเมือง การศึกษาอิสระ--รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี |
วันที่เผยแพร่: | 2558 |
สำนักพิมพ์: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
บทคัดย่อ: | การค้นคว้าอิสระนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษามุมมองทางการเมืองของนักวิชาการมาร์ก ซิสต์ไทย เกษียร เตชะพีระและ พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์โดยมุ่งเน้นในเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐไทยระหว่างพ.ศ. 2525-2555 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาด้วยการทบทวนรวบรวมเอกสารจาก เกษียร เตชะพีระ และการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบไม่มีโครงสร้างรายบุคคลจาก พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณาและเชิงตีความ ผลการวิจัยพบว่ามุมมองของนักวิชาการมาร์กซิสต์ต่อพัฒนาของรัฐไทยแบ่งออกเป็นสองช่วงคือ ช่วงแรก ระหว่าง พ.ศ. 2524 - 2534 มีพัฒนาการเป็น 7 มุมมอง คือ 1)ลัทธิมาร์กซ์คลาสสิค 2) ลัทธิทรอตสกี้ 3)ลัทธิมาร์กซ์ตะวันตก 4) ทฤษฎีพึ่งพา 5) วัฒนธรรมชุมชน 6) พุทธศาสนา และ 7) ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และในช่วงที่สอง หลัง พ.ศ. 2535 มุมมองต่อพัฒนาการของรัฐไทยมุ่งไปสู่การแก้ปัญหาอันเกิดจากรัฐ เช่น การสถาปนาการเมืองภาคประชาชน กระบวนการปฏิรูปการเมืองและการเคลื่อนไหวทางการเมืองนอกรัฐสภาของกลุ่มต่าง ๆ |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10280 |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Pol-Independent study |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
149694.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.67 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License