Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัตติยา ยินดีสังข์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T07:40:59Z-
dc.date.available2023-11-03T07:40:59Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10286-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงบทบาทความเป็นผู้นำ ของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ทางการเมืองที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย (2) เสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงบทบาทผู้นำทางการเมืองต่อการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา พบว่า มี 12 ด้าน โดยเรียงตามลำดับความสำคัญได้แก่ ด้านความสามารถในการสื่อสาร ด้านวิสัยทัศน์ ความเฉลียวฉลาด และการคาดการณ์อนาคตด้านรูปแบบการใช้อำนาจ ทางการเมือง ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านภาพลักษณ์ และความน่าเชื่อถือด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย กติกา มารยาททางการเมือง ด้านการใช้เหตุผลในการบริหารประเทศด้านความรับผิดชอบและความเสียสละของผู้นำทางการเมือง ด้านปัจจัยที่ไม่เอื้อหรือไม่สนับสนุนต่อบทบาทผู้นำทางการเมือง ด้านบทบาทที่เอื้อให้เกิดระบบการเมืองที่มีโครงสร้างแตกต่างและชำนาญการเฉพาะ ด้านการบูรณาการชาติ และด้านความคิดเห็นอื่น ๆ (2) สำหรับข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงบทบาทผู้นำทางการเมืองที่มีต่อการพัฒนาการเมือง ได้แก่ ผู้นำควรมีความซื่อสัตย์สุจริตควรมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และวิสัยทัศน์ ควรมีการกล้าตัดสินใจ ควรมีการสื่อสารทางการเมืองเชิงสร้างสรรค์ และควรมีความเป็นประชาธิปไตยโดยมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ไม่ยึดถือความคิดของตนเองเป็นหลัก พร้อมทั้งไม่ปิดกั้นสิทธิเสรีภาพของประชาชนในอันที่จะก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประเทศอย่างแท้จริงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectผู้นำทางการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการพัฒนาทางการเมืองth_TH
dc.subjectการพัฒนาประชาธิปไตย--ไทยth_TH
dc.titleบทบาทผู้นำทางการเมืองของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ต่อการพัฒนาการเมืองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขth_TH
dc.title.alternativeThe role of political leader of General Prayuth Chan-ocha in the political development of democratic of government with the King as Head of Stateen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the political leadership role of General Prayut Chan-ocha as it has affected the development of democracy in Thailand; and (2) to form recommendations for improving the role of political leaders in the development of democracy in Thailand. This was a qualitative research using the descriptive analysis method. Data were gathered from studying concepts about political leadership and the key performance indicators for political leaders, from related documents and from interviews with a group of key informants, consisting of former political office holders, academics, government sector employees, students, journalists, members of civil society groups, business people, local leaders, laborers, and agricultural sector leaders. An interview form with open-ended questions was used. The results showed that (1) 12 aspects of General Prayut Chan-ocha’s political leadership role were identified as having impacted the development of democracy. Listed in order of importance they were: ability to communicate; vision, intelligence, and foresight; way of wielding political power; ethics and morality; image and credibility; compliance with the law and political rules and etiquette; use of reason in government; responsibility and willingness to sacrifice; factors that did not facilitate or support his political leadership role; roles that facilitated the creation of a political system with a different structure with specialization; national integration; and “other.” (2) Recommendations for improving the role of political leaders in the development of democracy in Thailand were that the leaders should be honest; they should be creative and have vision; they should dare to make decisions; they should use constructive communication; and they should act democratically by listening to others’ ideas and opinions and refraining from restricting the people’s rights and libertiesen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
153314.pdfเอกสาณฉบับเต็ม11.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons