Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10293
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรวลัญช์ โรจนพล | th_TH |
dc.contributor.author | รัตนชัย จันทรานุชิต, 2526- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-03T08:06:26Z | - |
dc.date.available | 2023-11-03T08:06:26Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10293 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สาเหตุที่พรรคอนาคตใหม่ชนะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 ทุกเขตการเลือกตั้งในจังหวัดจันทบุรี 2) การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 ของพรรคอนาคตใหม่ในเขตการเลือกตั้งจังหวัดจันทบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง เฉพาะเจาะจงจากจำนวนประชากร 5 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สมัครรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดจันทบุรี กรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง ผู้ปกครองท้องที่และ ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง รวมทั้งสิ้น 25 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1.) สาเหตุที่พรรคอนาคตใหม่ชนะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 ทุกเขตการเลือกตั้งในจังหวัดจันทบุรี พบว่า บทบาทของหัวหน้าพรรคที่มีบุคลิกภาพที่เป็นคนรุ่นใหม่มีวิสัยทัศน์ การยุบพรรคไทยรักษาชาติ และการเปลี่ยนระบบการเลือกตั้งใหม่ทีกำหนดให้เลือกพรรคการเมืองในบัตรเลือกตั้งเพียงพรรคเดียว 2.) การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 ของพรรคอนาคตใหม่ในเขตการเลือกตั้งจังหวัดจันทบุรี พบว่า ผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งของพรรคอนาคตใหม่เน้นการใช้สื่อโซเซียลมีเดียในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ได้แก่ เพจเฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ เป็นต้น ซึ่งแตกต่างจากผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งพรรคอื่นที่ใช้หัวคะแนน ผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น หรือเครือญาติของผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งในการช่วยรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งในครั้งนี้ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การเลือกตั้ง--ไทย--จันทบุรี | th_TH |
dc.subject | การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครอง | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | การชนะการเลือกตั้งของพรรคอนาคตใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกผู้แทนราษฏร เมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2562 เขตเลือกตั้งประจำจังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Electoral victory of Future Forward Party in general election on March 24th, 2019, in election zones of Chanthaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are: 1) to find causes enabling Future Forward Party to win parliamentary election on March 24th, 2019, in all election zones in Chanthaburi Province; and 2) to study the parliamentary election campaign on March 24th, 2019 of Future Forward Party in election zones of Chanthaburi Province. This research was conducted in the form of qualitative research and the samples were obtained from using purposive sampling with 5 population groups including 25 candidates of parliamentary election, election committees of Chanthaburi Province, election committees of election zones, local administrators, and voters. Research tool was an interview form. Data were analyzed by using descriptive data analysis. The study found that: 1) For the cause of electoral victory of Future Forward Party in parliamentary election on March 24th, 2019, in every election zone of Chanthaburi Province, it was found that the cause of this electoral victory was the role of new election system defining that there must be only one party that was voted in ballot; 2) For parliamentary election campaign on March 24th, 2019 of Future Forward Party in election zones of Chanthaburi Province, it was found that candidates of Future Forward Party emphasized on the use of social media in their parliamentary election campaign including Facebook Page, Twitter, etc. This strategy was different from candidates of other parties that emphasized on election campaigners, community leaders, local leaders, or relatives of candidates during such parliamentary election campaign. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
164035.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 25.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License