Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10302
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเทอดอนันต์ แฉล้มเขตต์, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T03:04:25Z-
dc.date.available2023-11-06T03:04:25Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10302-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านองค์กรกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ (4) ศึกษาข้อเสนอแนะ แนวทางเสริมสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ ประชากร ได้แก่ พนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ จำนวน 2,896 คน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน คำนวณจากสูตรของทาโร่ยามาเน่ สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ การทดสอบค่านัยสำคัญต่ำสุด และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านความเชื่อถือ ยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์กร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (2) เมื่อเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน จำแนกตามลักษณะส่วนบุคคล พบว่า พนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ที่มีอายุตัวและอายุงานต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรทั้งภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัจจัยด้านองค์กรมีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่ทั้งภาพรวมและรายด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันในระดับปานกลาง (4) ข้อเสนอแนะสำคัญ ได้แก่ ควรส่งเสริมความตั้งใจในการทำงานของพนักงาน รวมทั้งสร้างแรงจูงใจเพื่อให้พนักงานทุ่มเทในการทำงาน นอกจากนั้นควรพิจารณาการจัดองค์กรให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มอบหมายงานและกระจายอำนาจการตัดสินใจไปยังผู้บริหารระดับต่าง ๆ มากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารทุกระดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารออมสิน--พนักงานth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินสำนักงานใหญ่th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of government saving bank head office's employeesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to (1) study the level of organizational commitment of Government Saving Bank Head Office’s employees, (2) compare organizational commitment of Government Saving Bank Head Office’s Employees, categorized by personal characteristics, (3) study relationships between organizational factors and organizational commitment of Government Saving Bank Head Office’s employees, and (4) study and recommend appropriate guidelines to enhance the organizational commitment of Government Saving Bank Head Office’s employees. Population consisted of 2,896 employees of Government Saving Bank Head Office. Samples of 360 were drawn via Taro Yamane’s calculation. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, f-test, LSD, and Pearson’s correlation coefficient. Research results revealed that (1) organizational commitment of Government Saving Bank Head Office’s employees was at highest level with the aspect of belief and acceptance of organizational goal and value the highest mean (2) when compared organizational commitment of employees categorized by personal characteristics, it appeared that those with different age and number of working years had different organizational commitment both in overall picture and in each aspect at statistical significance level of .05 (3) organizational factors had positive relations with organizational commitment of employees, both in overall picture and in each aspect, at moderate level with statistical significance level of .05 and (4) major recommendations were : working spirit of employees should be enhanced, as well as the enhancement of work motivation which would lead to employees’ dedication, moreover, the organization should consider the adjustment of office’s organizing to assure its alignment with organizational purposes, also, more authority should be delegated to all levels of management together with more empowerment, more importantly, leadership development opportunities should be provided equally to all managersen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_128366.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.38 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons