Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสนีย์ คำสุขth_TH
dc.contributor.authorสรศักดิ์ สุขศิริ, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T07:34:10Z-
dc.date.available2023-11-06T07:34:10Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10325en_US
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความเป็นมาและปัจจัยที่มีผลต่อการจัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ และ (2) การดำเนินงานทางการเมืองและปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินงานของพรรคการเมืองใหม่ การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์และศึกษา เอกสาร ประชากร คือ พรรคการเมืองใหม่ กลุ่มตัวอย่างได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 4 กลุ่ม คือ คณะผู้เสนอชื่อขอจัดตั้งพรรค จำนวน 3 คน คณะกรรมการบริหารพรรค จำนวน 3 คน สมาชิกพรรคระดับแกนนำ จำนวน 10 คน และ ผู้บริหารสาขาพรรค จำนวน 4 คน รวมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งสิ้น 20 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) พรรคการเมืองใหม่เกิดขึ้นจากการก่อตัวหรือการรวมตัวกันของเครือข่ายขบวนการทางสังคมเพื่อต่อด้านการทุจริตคอรัปชั่นภายใต้การบริหารงานของรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ในนาม "กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย" โดยปัจจัยภายในที่ สำคัญที่มีผลต่อการจัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้นำและผู้ก่อตั้ง รองลงมาคือ ปัจจัย ด้านความคิดและอุดมการณ์ กล่าวคือสมาชิกกลุ่มพันธมิตรฯ มีความคิดและความเชื่อร่วมกันในการที่จะตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาเพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมายโดยมีแกนนำคนสำคัญเป็นผู้นำในการจัดตั้ง และปัจจัยภายนอกที่สำคัญคือ ด้านสภาพปัญหาของการเมืองไทย (2) การดำเนินงานทางการเมืองในการส่งสมาชิกลงเลือกตั้ง สมาชิกสภากรุงเทพมหานคร (ส.ก.) และสมาชิกสภาเขต (ส.ข.) ที่ไม่ประสบความสำเร็จนั้นมีสาเหตุมาจากปัญหาภายในคือ ผู้สมัครของ พรรคยังไม่เป็นที่รู้จักและขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง และปัญหาภายนอกคือ ขาดการสนับสนุนจากประชาชน และประชาชนส่วนใหญ่ยังให้ความเชื่อถือพรรคการเมืองใหญ่ ปัจจัยภายในที่สำคัญที่มีผลต่อการดำเนินงานของพรรคการเมืองใหม่ คือ ปัจจัยด้านความคิดและอุดมการณ์ทางการเมือง ส่วนปัจจัยด้านผู้นำและผู้ก่อตั้ง นั้นกลุ่มตัวอย่างมีความเห็นว่าหากพรรคมีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้นำ พรรคก็ยังดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่อไปได้ถ้าความคิดและอุดมการณ์ทางการเมืองของพรรคยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพรรคการเมือง--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectพรรคการเมือง--ไทย--การบริหาร.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการก่อตัว การจัดตั้ง และการดำเนินงานของพรรคการเมืองใหม่th_TH
dc.title.alternativeFormation, establishment and operation of the new politics partyen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the background and factors that affected the formation of new political parties; and (2) the political operation of new political parties and factors that affect their operations. This was a qualitative research based on documentary research and interviews with 20 key informants, chosen through purposive sampling, consisting of 3 people who signed an application to set up a new political party, 3 administrators of a new political party, 10 core party members, and 4 political party branch office administrators. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that: (1) The new political party studied arose out of the joining of a network centered around a social movement to oppose corruption under the government of Thaksin Shinawatra. This movement took on the name “People’s Alliance for Democracy.” The major internal factors that affected the establishment of the new party were the leaders and the founders, followed by ideas and ideals. The members of the People’s Alliance for Democracy shared the idea of establishing a new political party that would act strictly according to the laws. The party was led by core members who were its founders. The major external factor that affected the establishment of the new party was the problems with Thai politics. (2) The new party’s political operations of nominating candidates to run for election for positions on the Bangkok Metropolitan Council and district councils were not successful. The main reason was internal problems (the candidates were not well known and public relations efforts were not thorough and consistent enough) as well as the external problems of lack of public support and the fact that most of the voters still put their faith in the large political parties. The major internal factor that affected the new party’s operations was political ideas and ideals. As for the factor of the leaders and party founders, most of the people interviewed thought that if the party leaders changed, the party could still continue oeprations as long as its political ideas and ideals remained unchanged.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
136678.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons