Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10329
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรทิน ศรีธเรศ, 2514--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T08:02:12Z-
dc.date.available2023-11-06T08:02:12Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10329-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทในทางการเมืองของผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (2) ศึกษาปัญหาอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานคามบทบาทอำนาจหน้าที่ของผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (3) เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงบทบาท อำนาจหน้าที่ของผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ช่วยดำเนินงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีบทบาทเป็นผู้ประสานความร่วมมือและช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ของสมิชกสภาผู้แทนราษฎรที่ตนสังกัด รับเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน ประสานงานกับหน่วยงานราชการและหน่วยงานอื่น ๆ นำเสนอโครงการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์กับประชาชน รับส่งข้อมูล ข่าวสารและเอกสารประชาสัมพันธ์ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ชี้แจงข่าวสารและข้อมูลโครงการต่าง ๆ ที่ริเริ่มการดำเนินงานให้กับประชาชนได้รับรู้ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการตัดสินใจของประชาชน เสนอแนะให้คำปรึกษากับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเรื่องต่างๆ ลงพื้นที่และเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะแทนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (2) ปัญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้แก่ การติดต่อประสานงานของผู้ช่วยดำเนินงานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรนั้นขึ้นอยู่กับภาพลักษณ์และพฤติกรรมโดยทั่วไปของผู้ช่วยดำเนินงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นหลัก (3) ข้อเสนอแนะ คือ ที่มาและองค์ประกอบของผู้ช่วยดำเนินงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรควรกำหนดบทบาทและหน้าที่ไว้ให้ชัดเจน แก้ไขระเบียบรัฐสภาว่าด้วยการแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ช่วยดำเนนงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอันจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร การพัฒนาผู้ช่วยดำเนินงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยการประชุม อบรม สัมมนาจากสถาบันทางการเมืองหรือสถาบันการศึกษา และประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.titleบทบาททางการเมืองของผู้ช่วยดำเนินงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร : กรณีศึกษาผู้ช่วยดำเนินงาน ส.ส.บุญรื่น ศรีธเรศ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดกาฬสินธุ์ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeThe political role of a member of parliament's administrative assistant : a case study of the administrative assistants of Boonruen Srithares, M.P.Kalasin Province, District 1en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the political roles of an administrative assistant to a Member of Parliament (MP); (2) to study difficulties of MP’s administrative assistants in fulfilling their roles and responsibilities; and (3) to recommend approaches for improving the roles of MP’s administrative assistants. This was a qualitative research based on documentary research and in-depth interviews with 30 key informants, chosen through purposive sampling, consisting of 10 administrative assistants to MPs, 5 expert consultants to MPs, 5 MPs, and 10 ordinary citizens. Data were collected using an interview form and analyzed using content analysis and descriptive analysis. The results showed that (1) the MP’s administrative assistants had the roles of coordinating to assist and cooperate with constituents, accepting petitions or grievances from constituents, coordinating with government and private sector agencies, introducing projects that would benefit the people, transmitting news, information and public relations materials, informing the public about the MP’s work, advising the MP on various matters, attending public functions as a representative of the MP, and other jobs assigned by the MP. (2) The major difficulty involved with the administrative assistants’ fulfillment of their roles and responsibilities was that their contacts with people and coordination work depended mainly on the personal image and behavior of the individual administrative assistant. (3) The recommended approach for improving the administrative assistants’ role is to clearly define their prerequisites, job requirements, roles and duties. The parliamentary rules on appointing administrative assistants should be revised. Skills development opportunities should be provided for MP’s administrative assistants through seminars and training courses at political or educational institutions. Regular evaluations should be made of their work performanceen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146043.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.9 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons