Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10331
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา ม่วงนุ่ม, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T08:13:55Z-
dc.date.available2023-11-06T08:13:55Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10331-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บทบาทเทศบาลนครนนทบุรีในการส่งเสริมการมี ส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ปัญหาน้ำท่วม (2) ปัญหา และอุปสรรคของบทบาทเทศบาลนครนนทบุรี ในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ปัญหาน้ำท่วม (3) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงแก้ไข บทบาทเทศบาลนครนนทบุรีในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม ผลการศึกษาพบว่า (1) บทบาทเทศบาลนครนนทบุรีในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมคือ 1) การให้ข้อมูลข่าวสาร (เสียงตามสาย) การสร้างจิตสำนึกให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมกับเทศบาลนครนนทบุรี 2) การทำประชาคมเมืองเพื่อเปิดให้ประชาชนร่วม แสดงความคิดเห็น 3) การให้ประชาชนร่วมมือปฏิบัติงานกับเทศบาล 4) การให้ประชาชนร่วมตัดสินใจ จากการเข้าร่วมประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนำไปสู่การจัดการที่ดีในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม และ 5) การให้ประชาชนร่วมตรวจสอบได้โดยเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์และเอกสารแผ่นพับ (2) ปัญหาและ อุปสรรคของเทศบาลนครนนทบุรีคือ 1) ข่าวลือและการไม่เข้าใจของประชาชน 2) ประชาชนไม่เห็น ความสำคัญและไม่เข้าใจการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม 3) ความขัดแย้งทางความคิด และ 4).ด้านงบประมาณที่ไม่เพียงพอในการทำค้นกั้นน้ำถาวร (3) ข้อเสนอแนะแนวคือ 1) การวางแผนการ บริหารและการจัดการปัญหาน้ำท่วมพร้อมทั้งการพัฒนาบุคลากร 2) การส่งเสริมให้ประชาชนไปศึกษาดู งานที่อื่นๆหรือการนำแนวทางในการจัดการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมต่างๆมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อนำมา ปรับปรุงใช้ในพื้นที่เทศบาลนครนนทบุรีth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการป้องกันความเสียหายจากอุทกภัย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectอุทกภัย--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectน้ำท่วม--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.titleบทบาทเทศบาลนครนนทบุรีในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม พ.ศ.2554th_TH
dc.title.alternativeThe role of Nonthaburi City municipality in promoting people's participation in flood prevention in the year of 2011en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the research are (1) to study the role of Nonthaburi city municipality in promoting people’s participation in flood prevention; (2) to study the challenges encountered by Nonthaburi municipality in fulfilling that role; and (3) to provide recommendations for solving those problems and improving the role of Nonthaburi municipality. This study is a qualitative research. Thirteen persons were selected for interviews, including the executive persons of Nonthaburi municipality, senior officials, and community leaders. The research employs interview questionnaires and descriptive analysis as main methods. The study shows that Nonthaburi municipality undertook the lead role in promoting public participation in solving the flood problem by (1) providing public information and creating public awareness of participation in municipal affairs; (2) holding town hall meeting and public hearing; (3) seeking public partnerships for municipal works; (4) brainstorming ideas which led to good governance in resolving the flood; and, (5) disseminating information through the website and brochures. However, some key challenges were present. They were identified as (1) lack of correct information among the local public; (2) lack of awareness of the importance of participation; (3) divergence of conflictual perspectives; and (4) inadequate budget allocation for constructing permanent dikes. Key recommendations are provided as follows: (1) improving management and capacity building; (2) increasing budget allocation for permanent dikes; and (3) taking a study visit to learn about best practice in flood prevention for further improvement of Nonthaburi municipality.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151377.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons