Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10339
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จีระ ประทีป | th_TH |
dc.contributor.author | จิรติกานต์ แสงทอง, 2524- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-09T02:44:21Z | - |
dc.date.available | 2023-11-09T02:44:21Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10339 | en_US |
dc.description.abstract | ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาปัญหาการให้บริการด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ (2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการให้บริการด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวและได้รับการบริการจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 260 คน โดยใช้วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า (1) ระดับปัญหาการให้บริการด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ ที่สำคัญ 3 ด้าน คือ ปัญหาด้านบุคลากร คือ ปัญหาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานยังขาดความรู้ ประสบการณ์ในด้านการท่องเที่ยวโดยตรง ปัญหาด้านสถานที่ให้บริการ คือ การจราจรภายในพื้นที่ไม่สะดวกมีดินโคลนบนผิวการจราจร และปัญหาด้านกระบวนการให้บริการ คือ การรับจองห้องพักไม่สะดวกแก่บุคคลภายนอก เนื่องจากสัญญาณโทรศัพท์ ขัดข้องบ่อย (2) แนวทางการพัฒนาการให้บริการด้านการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ ที่สำคัญ 3 ด้าน คือ ด้านบุคลากร ควรส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการให้บริการประชาชนหรือนักท่องเที่ยวได้เข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และประสบการณ์ด้านการท่องเที่ยวอย่างน้อยคนละ 1-2 ครั้งต่อปี ด้านสถานที่ให้บริการ ควรทำความสะอาดพื้นผิวจราจรให้อย่างสม่ำเสมอและกำหนดเวลาให้รถบรรทุกขนดินใช้เส้นทางในเวลา 18.00 น. ที่ปิดให้บริการแก่นักท่องเที่ยว และด้านกระบวนการ ควรเรียกผู้ดูแลระบบสัญญาณโทรศัพท์มาตรวจสอบให้รัดกุมและเพิ่มช่องการติดต่อรับจองห้องพักให้มากขึ้น เช่น ทางอินเตอร์เน็ต เป็นต้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การท่องเที่ยว--การจัดการ | th_TH |
dc.title | การประเมินผลการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลละทาย อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ | th_TH |
dc.title.alternative | Performance evaluation of La-tai sub district Administrative Organization Kantararom District, Sisaket Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to study (1) problems of tourism services in responsibility of Nakhonsawan Provincial Administrative Organization and (2) guidelines for the development of tourism services in responsibility of Nakhonsawan Provincial Administrative Organization. Sample consisted of visitors to the city who received the tourism services, 260 samples were derived via Taro Yamane formula. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were percentage, mean and standard deviation. Research results found the followings (1) problems of tourism services in three major areas were: personnel issue, lack of knowledge worker who had direct experience in the field of tourism; local area issue, traffic problem due to excess of mud on the road surface; process issue, room reservation problem due to communication breakdown from inefficient telephone lines (2) guidelines for the development of tourism services in responsibility of Nakhonsawan provincial administrative organization were : on personnel, the organization should encourage each official responsible for tourism services to attend training on tourism for at least 1-2 times a year; on local area, road surface should be constantly cleaned up, trucks carrying soil clod should be allowed on route only after 18.00 hours; on process, there should be a thoroughly check on telephone system signal to enhance telephone connection, moreover more communication channel, for example the internet, should be provided to facilitate tourists’ rooms reservation. | en_US |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_130357.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License