Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10365
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชูรัตน์ ตรียางค์กุล, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T06:13:50Z-
dc.date.available2023-11-09T06:13:50Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10365-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการบนเครื่องบินของหัวหน้าพนักงานต้อนรับ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการของหัวหน้าพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการให้บริการของหัวหน้าพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ หัวหน้าพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) จำนวน 255 คน จากประชากรทั้งสิ้น 700 คน เครื่องมือ ได้แก่ แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบ บังเอิญ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการศึกษาพบว่า (1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการของหัวหน้าพนักงานต้อนรับบน เครื่องบิน บริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) โดยภาพรวมพบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก (2) หัวหน้าพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินที่มี อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาการปฏิบัติงานและรายได้ต่อเดือนต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยการบริการบนเครื่องบิน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ข้อเสนอแนะสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารควรมีการวางแผนการบริการที่รัดกุมตรวจสอบอุปกรณ์การบริการอย่างสม่ำเสมอ กำชับให้พนักงานบริการบนเครื่องบินตรวจสอบความสะอาด ความพร้อมในการให้การบริการด้วยความเป็นกัลยาณมิตร ควรเน้นการทำงานเป็นทีม ประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เน้นการสื่อสารกับลูกค้าอย่างเป็นกันเอง มีความสุภาพ ยิ้มแย้ม กระตือรือร้นในการให้การบริการ และหัวหน้าพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินควรมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะการบริการของตนเองอย่างสม่ำเสมอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน)--พนักงาน--ทัศนคติth_TH
dc.subjectบริการลูกค้าth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริการบนเครื่องบินของหัวหน้าพนักงานต้อนรับของบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeThe opinion of air pursers toward the in-flight service of Thai Airways International Public Company Limiteden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) study the opinions of air pursers toward the in-flight service of Thai Airways International Public Company Limited (2) compare the opinions of air pursers toward the in-flight service of Thai Airways International Public Company Limited classified by personal factors and (3) provide recommendation to improve the in-flight service of air pursers, Thai Airways International Public Company Limited Samples were 255 air pursers of Thai Airways International Public Company Limited; derived from a total population of 70. Instrument used was questionnaire. Accidental random sampling method was applied. Statistical toole employed included frequency, mean, standard deviation, t-test, One-Way Analysis of Variance, and Scheffe's testing method. Research results revealed that (1) the opinions of air pursers toward the in-flight service of Thai Airways International Public Company Limited as a whole was at high level. (2) air pursers who differed in age, marital status, educational level, working period and income level showed difference in the opinions of in-flight service with 0.05 level of statistical significance (3) major recommendations were: the management should have a discreet plan in in-flight services, conduct service equipment check regularly, urge the employees to check the in-flight cleanliness, deliver service with service mind, put the emphasis on teamwork and smooth cooperation with all departments involved, communicate with passengers in friendly, courteous, pleasant, and enthusiasism manner, morover, the air pursers themselves should be eager to develop their knowledge, and skill in service delivery regularlyen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_136020.pdfเอกสารฉบับเต็ม14.35 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons