Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรุ่งพงษ์ ชัยนาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิชัย ช่างก่อ, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T06:22:44Z-
dc.date.available2023-11-09T06:22:44Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10366-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาความคิดทางการเมืองของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ที่มีต่อรัฐสยามในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2436 – พ.ศ.2461 (2) เพื่อศึกษาบทบาทด้านการเมืองการปกครองของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ที่มีต่อรัฐสยามในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2436 – พ.ศ. 2461 ผลการวิจัยพบว่า พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ทรงมีแนวคิดทางการเมืองการปกครองเมืองน่านในด้าน (1) การใช้พุทธศาสนาและความเชื่อเรื่องผีควบคุมคนในสังคมเมืองน่าน (2) แนวคิดสมัยใหม่ในการจัดรูปแบบการเมืองการปกครองขึ้นใหม่ในเมืองน่าน โดยการนาระบบราชการมาใช้ในการปกครองเมืองน่าน การจัดการการศึกษาสมัยใหม่ให้เกิดขึ้นในเมืองน่านซึ่งได้มีการก่อตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อให้ชาวเมืองน่านได้มีโอกาสศึกษาเรียนรู้ และแนวคิดในการแสดงออกถึงความจงรักภักดีซื่อสัตย์ต่อพระมหากษัตริย์แห่งรัฐสยามซึ่งทาให้ความสัมพันธ์ทางการเมืองของเมืองน่านกับรัฐสยามเป็นไปในทางที่ดี สาหรับบทบาททางด้านการเมืองการปกครองนั้นพบว่าพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯได้มีบทบาทในบทบาทในการช่วยเหลือรัฐสยามในการทาศึกเมืองเชียงตุง บทบาทในด้านการทาสงครามปราบฮ่อ บทบาทการปกป้องรักษาดินแดนของรัฐสยามมิให้ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศส และยังได้มีบทบาทในการช่วยเหลือรัฐสยามในการปราบกบฏเงี้ยวเมืองแพร่th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectน่าน--การเมืองและการปกครองth_TH
dc.titleความคิดและบทบาททางการเมืองการปกครองของพระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดชฯ ที่มีต่อสยามระหว่าง พ.ศ. 2436-2461th_TH
dc.title.alternativeThe Political thoughts and role of Phrachao Suriyapong Paritdej toward the Siamese government in the Years 1893-1918en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) the political thoughts of Phrachao Suriyapong Paritdej, Ruler of Nan, towards the Siamese government from 1893-1918; and (2) the political role of Phrachao Suriyapong Paritdej in the Siamese government in 1893-1918. This was a qualitative research based on study of historical documents related to the political history of Nan Province and in-depth interviews with knowledgeable persons, who were the living descendents of Phrachao Suriyapong Paritdej. The results showed that Phrachao Suriyapong Paritdej had the following ideas about the governance of Nan: (1) Both Buddhist and animist beliefs could be used to control the people in Nan society. (2) The form of politics and government in Nan could be modernized and reformed by installing a bureaucratic system and modernizing education with the foundation of new schools to provide more opportunities for education. Phrachao Suriyapong Paritdej also adhered to the thought of expressing loyalty to the King of Siam, so that there was a good relationship between Nan and Siam. (3) As for Phrachao Suriyapong Paritdej’s political role during the period, he assisted the Siamese government in fighting against Chiang Tung, suppressing the Hong, protecting Siam from French colonialism, and putting down the 1902 Ngiew Revolt in Phrae.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134130.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons