Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทิพย์เกสร บุญอำไพ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorไพฑูรย์ ทองทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิธร แก้วอุดร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T06:54:57Z-
dc.date.available2023-11-09T06:54:57Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ เรื่อง การออกแบบและปฏิบัติงานไม้ ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 80/80 (2) ศึกษาความก้าว หน้าทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ และ (3) ศึกษาความ คิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับความเหมาะสมของชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพของชุดการสอน คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 39 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ชุด การสอนอิงประสบการณ์ เรื่องการออกแบบและปฏิบัติงานไม้ 3 หน่วยประสบการณ์ คือ หน่วย ประสบการณ์ที่ 8 การเขียนแบบงานไม้ หน่วยประสบการณ์ที่ 9 การปฏิบัติงานไม้ และหน่วย ประสบการณ์ที่ 14 การเคลือบผิวงานไม้ (2) แบบทดสอบก่อนและหลังการเผชิญประสบ การณ์เป็นแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อชุดการสอนแบบอิง ประสบการณ์ การเก็บรวบรวม ข้อมูลเพื่อนำไปหาประสิทธิภาพโดยทดลองเบื้องต้น 3 ขั้นตอนคือ แบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และแบบภาคสนาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าประสิทธิภาพของ ชุดการสอน E,/E, ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วย ประสบการณ์มีประสิทธิภาพตามลำดับ ดังนี้ 80.60/81.23, 79.29/80.15 และ 81.78/80.65 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ผู้เรียนที่เรียนจากชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์มีความ ก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ผู้เรียนมีความคิดเห็น เกี่ยวกับชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์ว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.93-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectงานไม้th_TH
dc.subjectกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.titleชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีวิชางานช่าง เรื่องการออกแบบและปฏิบัติงานไม้ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เขตพื้นที่การศึกษาอุทัยธานีth_TH
dc.title.alternativeExperience-based instructional packages in the career and technology learning area on the topic of design and practice of woodworks for Mathayom Suksa II students in Uthai Thani Educational Service Areath_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.93-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to develop experience-based instructional packages on the topic of Design and Practice of Woodworks to meet the determined 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of students learning from the experience-based instructional packages; and (3) to study the students' opinions toward the experience-based instructional packages. The sample used in the study consisted of 39 purposively selected Mathayom Suksa II students. The instruments used were (1) three instructional units of the experience-based instructional packages on the topic of Design and Practice of Woodworks, namely, Unit 8: Design of Woodworks, Unit 9: Practice of Woodworks, and Unit 14: Enameling of Woodworks; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaire to assess the student's opinions toward the experience-based instructional packages. The data collecting procedure started with single subject try-out, followed by small group try-out and finally field try-out. The statistics used were the E1/E2 efficiency index, mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the efficiency of the three experience- based instructional packages were 80.60/81.23, 79.29/80.15, and 81.78/80.65 respectively, thus meeting the determined 80/80 efficiiency criterion; (2) the students learning from experience-based instructional packages achieved learning progress significantly at the .05 level; and (3) the students rated the appropriateness of experience-based instructional packages at the high levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.76 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons