Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10380
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รุ่งพงษ์ ชัยนาม | th_TH |
dc.contributor.author | ฐานันดร พรหมปัญญา, 2512- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-09T07:32:01Z | - |
dc.date.available | 2023-11-09T07:32:01Z | - |
dc.date.issued | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10380 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จำนวนการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองของชาวไต (ไทใหญ่) ในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน (2) พัฒนาการทางการเมืองของชาวไต (ไทใหญ่)ในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน (3) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของชาวไต (ไทใหญ่) ในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน (4) แนวโน้มทางการเมืองของชาวไต(ไทใหญ่)ในเขตเทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน 21 คน ได้แก่ผู้ทรงคุณวุฒิ (ปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น) จำนวน 3 คน และคณะกรรมการชุมชน (ป๊อก) ทั้งหมด 6 ชุมชน (ป๊อก) ชุมชน (ป๊อก) ละ 3 คน จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการนำเสนอเชิงพรรณนา ผลของการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมทางการเมืองของชาวไต (ไทใหญ่) ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอนแต่เดิมเป็นแบบผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบดั้งเดิมจำกัดวงแคบกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้า ซึ่งมีประชากรส่วนใหญ่ขาดความสำนึกทาง การเมือง ขาดการมีส่วนร่วมทางการเมือง เป็นสังคมแบบจารีตประเพณีมีวิถีชีวิตแบบเรียบง่ายต่อมามีพัฒนาการทางการเมือง จึงเกิดเป็นวัฒนธรรมทางการเมืองแบบไพร่ฟ้าผสมกับวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม ซึ่งประชากรได้เข้ามามีส่วนร่วมและเรียนรู้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครอง มีจิตสำนึกทางการเมือง มีความสนใจทางการเมือง และเข้ามามีบทบาททางการเมือง ปัจจัยที่ทำให้เกิดกระบวนการมีส่วนทางการเมืองคือการรุกล้ำวัฒนธรรมของ ท้องถิ่นอื่น ส่วนแนวโน้มวัฒนธรรมทางการเมืองของชาวไต(ไทใหญ่) เป็นวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากการพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | วัฒนธรรมทางการเมือง | th_TH |
dc.subject | ชาวไต--ไทย--กิจกรรมทางการเมือง. | th_TH |
dc.subject | ชาวไต--ไทย--แม่ฮ่องสอน | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | วัฒนธรรมทางการเมืองของชาวไต (ไทใหญ่) ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองแม่ฮ่องสอน | th_TH |
dc.title.alternative | Political culture of Shan's (Tai Yai) in Meahongson Municpality Area | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research purposes to study (1) the Political Socialization of theTai Yai in the municipality of Maehongson (2) political developments of theTai Yai in the municipality of Maehongson and (3) Political participation of theTai Yai in the municipality of Mae Hong Son. (4) political trends of theTai Yai in the municipality of Maehongson. This research is qualitative research. Selecting a specific sample.(Purposive sampling) 21 people, including research scholars as local philosopher and community board (POK) 6 community research 3 people by 18 people are used in this study. Structured interview and unstructured interviews are used for in depth interview sand observation data analysis by presenting descriptive. The results of the study revealed that Political culture of the Tai Yai in the area of Maehongson municipality originally a combination of culture, political culture, political culture tradition ally limited narrowly political subjects. The majority of the population lacks political conscions’ sand political participation in traditional society with a simple lifestyle. Transport and communication is difficult to geographic valley complex. Later, the political development is apolitical cult remixed with citizens in participle artery political culture. This population has been in solved in learning, understanding in political consciousness and has more political in Likely Factors that contribute to the political process is the encroachment of the local culture. political culture of the Tai Yai is participle story democratic political culture that has been in fluent all in the country's economic and social development affecting the be heavier of population to compete freely and social awareness. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144682.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License