Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุปรียา ศิริพัฒนกุลขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเยาวรัตน์ คำตรง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-10T02:50:06Z-
dc.date.available2023-11-10T02:50:06Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10391-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การแนะแนวอาชีพ สำหรับครูการศึกษานอกโรงเรียนในกรุงเทพมหานคร ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (2) ศึกษาความก้าวหน้าของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุดฝึกอบรม ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุด ฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูการศึกษานอกโรงเรียน กรุงเทพมหานคร ที่ ปฏิบัติงานสอนอยู่ในภาคเรียนที่ 2/ 2550 จำนวน 37 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การแนะแนวอาชีพ จำนวน 3 หน่วย คือ หน่วยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ หน่วยที่ 2 การบริการสนเทศและ ปรึกษาด้านอาชีพ และ หน่วยที่ 3 การบริการจัดวางตัวบุคคล ติดตาม และประเมินผลด้านอาชีพ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน วัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยแบบคู่ขนาน และ (3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าประสิทธิภาพด้วยค่า E,/ E2 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย ที่ผลิตขึ้นทั้ง 3 หน่วย มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด 80/80 (ดังนี้ 80.53/81.28, 80.00/80.80 และ 81.20/82.08 ตามลำดับ) (2) ผู้รับการฝึกอบรมที่เรียนด้วยชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย มีความก้าวหน้าทางการ เรียนเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และ (3) ผู้รับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อชุดฝึกอบรม ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย อยู่ในระดับเห็นด้วยมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.39-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการแนะแนวอาชีพth_TH
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บth_TH
dc.subjectสื่ออิเล็กทรอนิกส์th_TH
dc.subjectครู--การฝึกอบรม.--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.titleชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายเรื่อง การแนะแนวอาชีพสำหรับครูการศึกษานอกโรงเรียนในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeComputer-based training packages via network on career guidance for non-formal education teachers in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.39-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were three-folds: (1) to develop a set of computer-based training packages via network on Career Guidance for non-formal education teachers in Bangkok Metropolis based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the learning progress of non-formal education teachers learning from the computer-based training packages via network on Career Guidance; and (3) to study the opinion of non-formal education teachers on the quality of computer-based training packages via network on Career Guidance. The research samples consisted of 37 randomly selected non-formal education teachers in Bangkok Metropolis. Research instruments comprised (1) three units of computer-based training packages via network on Career Guidance, namely Unit 1: Concept of Career Guidance; Unit 2: Information Service and Career Guidance; and Unit 3: Career Placement Services, Follow-ups, and Evaluation; (2) two parallel forms of an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3) a questionnaires asking the student's opinion on the quality of the computer-based training packages via network. in Statistics used were the E1/E2 percentage index, mean, standard deviation, and t-test. Research Findings was that (1) the three units of computer-based training packages via network were efficient at 80.53/81.28, 80.00/80.80; and 81.20/82.08 respectively; thus meeting the set efficiency criterion of 80/80; (2) The learning progress of the students learning from the computer-based training packages via network was significantly increased at the 0.05 level; and (3) The opinion of the students on the quality of the computer-based training packages via network was at the "Highly Agreeable" levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons