Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10396
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | อรณัฎฐา โยธะกา | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-10T07:56:42Z | - |
dc.date.available | 2023-11-10T07:56:42Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10396 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม ระหว่างนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นที่ได้รับการฝึกและไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม และ (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม ของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นที่มีความพร้อมทางจิตต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนวัยรุ่นตอนต้นชายและหญิงที่มีอายุระหว่าง 13-15 ปี จาก โรงเรียนเทศบาลเมืองจันทบุรี ๒ จังหวัดจันทบุรี ปีการศึกษา 2551 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง 2 ห้องเรียน รวมนักเรียน 60 คน สุ่มนักเรียนแต่ละคนเข้ากลุ่มวิจัย 2 กลุ่ม กลุ่มละ 30 คน จับสลาก ให้เป็นกลุ่มทดลองหนึ่งกลุ่ม และกลุ่มควบคุมหนึ่งกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม จำนวน 10 กิจกรรม (2) แบบวัด จำนวน 4 แบบวัค คือ แบบวัดพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม แบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรม แบบวัด ลักษณะมุ่งอนาคต-ควบคุมตน และแบบวัดความเชื่ออำนาจในตน ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .86,.68, .75 และ.76 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคม มีพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคมสูงกว่านักเรียนที่ไม่ได้ รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคมอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) นักเรียนวัยรุ่นตอนต้นที่มีความพร้อมทางจิตต่างกันมีพฤติกรรม รับผิดชอบต่อสังคมไม่แตกต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.240 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | ความรับผิดชอบ | th_TH |
dc.subject | วัยรุ่น--พฤติกรรม | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | th_TH |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาพฤติกรรมรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนวัยรุ่นตอนต้น | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of a guidance activities package for development of social responsibility behaviors of early adolescent students | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.240 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ทัศนึย์ ชาติไทย | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License