Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10404
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยุทธพร อิสรชัย | th_TH |
dc.contributor.author | กฤชฐา สีหบัณฑ์, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T02:26:10Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T02:26:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10404 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ศึกษารูปแบบการสื่อสารทางการเมืองบนสื่อ สังคมออนไลน์ ในการต่อต้านรัฐบาล คสช. ช่วง พ.ศ.2557 – 2561 (2) ศึกษาผล กระทบการสื่อสาร ทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์ ในการต่อต้านรัฐบาล คสช. ช่วง พ.ศ. 2557 – 2561 การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรได้แก่ กลุ่มสมาชิกบนสื่อสังคมออนไลน์ เฟสบุ๊ค กลุ่มสนามการเมือง และกลุ่มการบ้านการเมือง โดยการสุ่มสมาชิกภายในกลุ่มจำนวน 20 คน เครื่องมือในการวิจัย ใช้แบบสัมภาษณ์ออนไลน์และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) รูปแบบการสื่อสารทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์ภายในกลุ่มสนามการเมืองและกลุ่มการบ้านการเมือง ที่พบมากที่สุดได้แก่1) รูปแบบ ข้อความภาพ เนื่องจาก เป็นรูปแบบที่แสดงการล้อเลียน ตลก และง่ายต่อการเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้ส่งข้อความ 2) รูปแบบ วีดีโอ เนื่องจากเป็นรูปแบบที่ในเชิงล้อเลียนโดยการตัดวีดีโอส่วนที่มีคำพูดที่ไม่เหมาะสมมาลงความเห็นยำซ้ำเติม และวิจารณ์กันในทางลบ (2) ผลกระทบการสื่อสารทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์ในการต่อต้านรัฐบาล คสช. ช่วง พ.ศ. 2557 – 2561 พบว่า การสื่อสารทางการเมืองบนสื่อ สังคมออนไลน์เป็นนวัตกรรมสำคัญในการสื่อสารในยุคปัจจุบันโดยมีการนำข้อความภาพ เสียง รวมไปถึงภาพเคลื่อนไหวเข้ามาเป็นจุดสนใจทำให้เกิดกระแสการต่อต้านรวมไปถึงทำ ให้รัฐบาล รับรู้ความเดือดร้อนของประชาชน ซึ่งในอนาคตการสื่อสารทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์อาจ มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงผลการทำงานของรัฐบาล เนื่องจากอำนาจแห่งเทคโนโลยีมีความ จำเป็นและสำคัญยิงในฐานะผู้สร้างอำนาจและประโยชน์ต่อผู้ใช้ข้อมูลข่าวสาร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การสื่อสารทางการเมือง--ไทย | th_TH |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | th_TH |
dc.subject | การต่อต้านรัฐบาล--ไทย | th_TH |
dc.subject | เฟซบุ๊ค | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | การสื่อสารทางการเมืองบนสื่อสังคมออนไลน์ กรณีศึกษาการต่อต้านรัฐบาล คสช. ช่วง พ.ศ. 2557-2561 บนสื่อเฟสบุ๊ค | th_TH |
dc.title.alternative | Political communication on social media: a case study of the NCPO government resistance on facebook from 2014 to 2018 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are 1) to investigate political communication patterns of social media in resistance to the National Council for Peace and Order (NCPO) from 2014 to 2018 and (2) to study impacts of political communication on social media in resistance to the NCPO from 2014 to 2018. The qualitative approach was applied in this research. The samplings consisted of members of Facebook under the group name “สนามการเมือง” and “การบ้านการเมือง”. The 20 members were randomly selected from those Facebook Groups. The online questionnaire and descriptive data analysis were used as research tools. The study found that (1) the most common political communication patterns on social media under Facebook group namely “สนามการเมือง” and “การบ้านการเมือง ” were 1) picture message pattern with parody and drollery due to easy understanding the intention of sender as well as 2) video pattern with parody and inappropriate words causing negative criticism. (2) The political communication on social media was an important innovation in modern communication. The picture message, voice and animation GIF (Graphics Interchange Format) were used as points of interest causing social resistance to NCPO. On the other hand, the government get to know the feedback from the people. In the future, the political communication on social media may take part in changing of government performance due to power of technology. It was essential and crucial as the creator of power and it had benefits for information users. | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
161878.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 13.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License