Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10409
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปธาน สุวรรณมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | อูบัยดิลละห์ มะยุนุ, 2521- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-13T04:10:08Z | - |
dc.date.available | 2023-11-13T04:10:08Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10409 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทผู้นำชุมชนท้องถิ่นในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของผู้นำชุมชนท้องถิ่นในการดำเนินบทบาทการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (3) เพื่อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การวิจัยด้วยการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างโดยเน้นการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยมีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่คัดเลือก แบบเฉพาะเจาะจงคือ บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้นำแบบเป็นทางการได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และบุคคลท ี่เป็นผู้นำแบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ โต๊ะอิหม่าม ผู้นำกลุ่มอาชีพ ผู้นำวิสาหกิจชุมชน รวมทั้งสิ้น 9 คน และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้นำชุมชนท้องถิ่นเป็นผู้มีบทบาทอย่างสำคัญทั้งบทบาททางด้านสังคม บทบาททางด้านเศรษฐกิจ บทบาททางด้านการเมืองและบทบาททางด้านวัฒนธรรม บทบาทดังกล่าว สามารถที่จะแก้ปัญหาการว่างงาน ปัญหายาเสพติด รวมทั้งเกิดการรวมกลุ่มสามารถสร้างอาชีพและเกิดรายได้ในชุมชน โดยการให้ชุมชนตัดสินใจแก้ไขปัญหาและจัดการกับปัญหาด้วยพลังของคนในชุมชน ตลอดจนบทบาทในการอนุรักษ์และส่งเสริมสนับสนุนโดยการให้คุณค่าและความสำคัญกับหลักปฏิบัติด้านศาสนกิจและวัฒนธรรมที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษซึ่งสะท้อนออกในด้านภาษา ศาสนา การแต่งกาย และกิจกรรมประเพณีต่างๆ (2) ปัญหาอุปสรรคของผู้นำ พบว่า ผู้นำชุมชนท้องถิ่นจะพบปัญหาอุปสรรคขัดขวางในการดำเนินบทบาทการสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนคือขาดความสามัคคีร่วมมือจากคนในชุมชนขาดแรงสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐโดยเฉพาะด้านของงบประมาณที่ล่าช้าและไม่เพียงพอ ทำให้การดำเนินงานไม่คล่องตัว (3) แนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรค ได้แก่ ผู้นำต้องอาศัยการร่วมมือจากประชาชนในชุมชนและจากภาครัฐให้มากขึ้นรวมทั้งการจัดสรรงบประมาณที่เพียงพอในการดำเนินงานและ ควรส่งเสริมการรวมกลุ่มหรือการประกอบอาชีพของกลุ่มให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อทำให้ ประชาชนในชมชนมีงานทำและมีรายได้ที่ดีขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ผู้นำชุมชน | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาชุมชน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่น | th_TH |
dc.title | บทบาทของผู้นำท้องถิ่นในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน : กรณีศึกษาบ้านทอน หมู่ 11 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมือง จังหวัดนราธิวาส | th_TH |
dc.title.alternative | Role of community leaders in building a strong community : a case study of Baan Thon, Moo 11, KhokKhian Sub-district, Mueang District, Narathiwa Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชารัฐศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the role of community leaders in creating a strong community; (2) to study problems and obstacles to the fulfillment of that role; and (3) to recommend approaches to solving those problems. This was a qualitative research that employed non-participatory observation, semi-structured interviews and in-depth interviews. The 9 key informants, chosen through purposive sampling, consisted of formally appointed leaders (chairman of the Tambol Administrative Organization, kumnan and village headman) and unofficial leaders (imam, guild chief, community enterprise leader). Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) Local leaders played significant social, economic, political and cultural roles in the community. Through those roles they were able to solve problems such as unemployment and drug abuse, and were able to consolidate community members to create jobs and bring in income to the community. They let people in the community make decisions about solving problems and then implement solutions using their own resources. Community leaders also had a role in preserving and promoting the value and importance of religious observances and inherited traditional culture, which was reflected in their language, religion, dress, ceremonies and rituals. (2) The problems and obstacles they faced were a lack of unity and cooperation on the part of community members and a lack of support from government agencies, especially insufficient and delayed budget allocations that hindered the work. (3) Approaches to solving these problems are to gain greater cooperation from people in the community and from government agencies, to get a sufficient budget to undertake the work, to promote the formation of groups in the community, and to continuously develop vocations so that people in the community have work to do and better income | en_US |
Appears in Collections: | Pol-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
143419.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.58 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License