Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคลth_TH
dc.contributor.authorวฤทธิ์ พสุโร, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T04:21:23Z-
dc.date.available2023-11-13T04:21:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10411en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคาดหวังของผู้นำชุมชนที่มีต่อบทบาทของสมาชิกสภาท้องถิ่น ในตำบลทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร และ (2) เสนอแนะแนวทางพัฒนาสมาชิกสภาท้องถิ่นให้มีบทบาทสอดคล้องกับความคาดหวังของประชาชนในตำบล ทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพร การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง จำนวน 15 คน ประกอบด้วยผู้นำชุมชนที่เป็นทางการ ผู้นำชุมชนทางเศรษฐกิจและผู้นำชุมชนตามธรรมชาติ ใช้การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการและการเสวนากลุ่ม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของสมาชิกสภาท้องถิ่นทั้ง 3 ด้าน คือด้านนิติบัญญัติ ด้านเป็นผู้กำกับตรวจสอบฝ่ายบริหารและการดูแลทุกข์สุขของประชาชนที่ผู้นำชุมชนคาดหวัง ปรากฏว่าผู้นำชุมชนกลุ่มต่างๆ คาดหวังและให้ความสำคัญในด้านการดูแลทุกข์สุขของประชาชนมากที่สุด (2) ผู้นำชุมชนต้องการให้สมาชิกสภาท้องถื่น ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนใน การเสนอร่างข้อบัญญัติ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนเพื่อจะได้แก้ปัญหาให้ตรงจุด และให้พิจารณาร่างข้อบัญญัติด้วยความรอบคอบให้ความสำคัญกับความคุ้มค่าและเหมาะสมกับปัญหาของท้องถิ่น ให้ความสำคัญกับการกระจายข้อมูลข่าวสารการทำงานของ อบต. และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในด้านต่างๆ ดังนั้นปัญหาเรื่องความเป็นอยู่การกินดีอยู่ดีของประชาชน โดยเฉพาะในชุมชนท้องถิ่นเป็นปัญหาหลัก เพราะหากคนในชุมชนกินดีอยู่ดีมีความรู้ที่จะประกอบอาชีพที่สุจริต พึ่งพา ตนเองได้โดยไม่ต้องรอภาครัฐ ปัญหาอาชญากรรมต่างๆย่อมลดน้อย หรืออาจจะหมดสิ้นไป ความคาดหวังของผู้นำชุมชนต่อบทบาทสมาชิกสภาท้องถิ่น ในด้านการดูแลทุกข์สุขของประชาชนจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อคนในชุมชน ส่วนในด้านเป็นผู้กำกับตรวจสอบฝ่ายบริหารและด้านนิติบัญญัติ เป็นเรื่องขององค์กรเป็นภาพรวมที่คนในชุมชนโดยผู้นำชุมชน คาดหวังและต้องการให้สมาชิกสภาท้องถิ่นได้รับรู้และหาแนวทางแก้ไข ให้เป็นไปตามกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่กฎหมายกำหนดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.subjectผู้นำชุมชน--ไทย--ชุมพรth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleความคาดหวังของผู้นำชุมชนต่อบทบาทของสมาชิกสภาท้องถิ่น ตำบลทุ่งคา อำเภอเมือง จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeExpectations of community leaders of the role of local council members in Thung Kha Sub-District, Mueang District, Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the expectations of community leaders of the role of local council members in Thung Kha Sub-District, Mueang District, Chumphon Province; and (2) to recommend approaches to adapting the role of local council members to meet the expectations of community leaders in Thung Kha Sub-District, Mueang District, Chumphon Province. This was a qualitative research. The 15 key informants, chosen through purposive sampling, consisted of official community leaders, economic community leaders and natural community leaders. Data were collected through informal interviews and focus group discussions. Data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) of the 3 categories of roles of local council members (legislative, auditing administrators and seeing to the wellbeing of the citizens), most of the community leaders put the highest priority on seeing to the wellbeing of citizens. (2) Community leaders wanted local council members to pay more attention to public participation, allow citizens to propose legislation, listen to citizens’ opinions so that problems could be solved appropriately, consider draft legislation carefully with a view to cost effectiveness and addressing local problems, and spread more news about the Tambol Administrative Organizations’ work. The major issue was perceived to be the wellbeing and standard of life of the local people, because if everyone in the community had the knowledge and capability to make an honest living then they would be self sufficient and would not need government assistance, and crime would decrease or disappear. The community leaders’ expectation that the local council members would see to the wellbeing of the citizens was important because it directly affected the members of the community. As for the local council members’ other roles of auditing the work of administrators and making legislation, the community leaders and people in the community viewed these roles as overall administrative duties and they wanted the local council members to be aware of those duties and find ways to solve problems so that everything went according to the official rules and pertinent lawsen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
144893.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons