Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10418
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประวิทย์ วงค์สันต์, 2520--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T06:56:22Z-
dc.date.available2023-11-13T06:56:22Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10418-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทของสภาองค์กรชุมชนในการดำเนินงาน ตาม พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 ของสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร (2) ศึกษาปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงานตาม พระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 ของสภาองค์กรชุมชนตำบล ตลาดไทร (3) เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติสภาองค์กร ชุมชน พ.ศ. 2551 ของสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยทำการศึกษาด้วยการวิจัยทางเอกสาร และสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้แก่ ประธานสภา องค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร จำนวน 1 คน , เลขานุการสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร จำนวน 1 คน, สมาชิกสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร จำนวน 7 คน ,นักปกครองท้องถิ่นกำนันผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 2 คน และผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และ การวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทรไม่เป็นไปตาม เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติสภาองค์กรชุมชน พ.ศ.2551คือการสร้างการเมืองให้มีความเข้มแข็ง การ สร้างชุมชนเข้มแข็ง รากฐานชุมชนที่เข้มแข็ง การมีส่วนร่วมในชุมชน ซึ่งบทบาทการในการดำเนินงานไม่ มีประสิทธิภาพประสิทธิผล (2) ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานของสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร ได้แก่ สมาชิกสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทรไม่เข้าใจบทบาทภารกิจของตนในการบริหารดำเนินงาน กิจการของสภาองค์กรชุมชน สมาชิกมีเพียงกลุ่มที่จำนวนจำกัดอยู่ในวงแคบ และสมาชิกมีบทบาทหน้าที่ หลายตำแหน่งหลายบทบาทในชุมชน ปัญหาการมีส่วนร่วมในชุมชน ประชาชนขาดจิตสำนึกในการเข้า ร่วมการแสดงความคิดเห็นในการประชุมต่างๆ การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของประชาชนกับสภาองค์กร ชุมชนมีจำนวนน้อยมาก ปัญหาเรื่องงบประมาณในการดำเนินงานในภารกิจของสภาองค์กรชุมชน (3) ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรค ได้แก่ สร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ตามตำแหน่ง ของสภาองค์กรชุมชนและประชาชน ส่งเสริมภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.subjectสภาองค์กรชุมชน--การบริหารth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--รัฐศาสตร์th_TH
dc.titleบทบาทการดำเนินงานของสภาองค์กรชุมชนตำบลตลาดไทร อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeOperational role of the Talat Sai Sub-district Community Organizations Council in Prathai District, Nakhon Ratchasima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are threefold: (1) to study the roles and performances of the Talat Sai Sub-district Community Organization Council (COC) under the parameter of 2008 Community Councils Act; (2) to study challenges faced by the Talat Sai Sub-district COC in its operations; and, (3) to recommend approaches to solving those challenges. This research employs qualitative research methods, consisting of documentary research and interviews with key informants, chosen through purposive sampling. The chosen key informants consisted of the COC chairman, its secretary and 7 members of the Talat Sai Sub-district COC, 2 village headmen/local administrators, and one local administrator, totally 12 target persons. The main research tool was an interview questionnaires. Collected data were analyzed through descriptive analysis. The results show that Talat Sai Sub-district COC’s role does not fit with the intent of the 2008 Community Council Act especially in strengthening communities and promoting public participation. Talat Sai Sub-district COC’s performances are neither efficient nor effective. Furthermore, Talat Sai Sub-district COC frequently encounters the following difficulties. Firstly, the members do not understand their duties or roles in managing the COC’s work. Secondly, the members are few and drawn from a limited scope of groups. And thirdly, most of the members hold multiple positions that result in the overlapping of duties they need to perform in their communities. In addition, there exist challenges in public involvement in the community. For instance, the local people lacked confidence in expressing their ideas in meetings and forums. Very few citizens participated in the COC’s activities. The COC also faces difficulty in fulfilling its duties due to the limitations of its budget. Suggested approaches to solving these problems include building up greater knowledge and understanding about the official roles and responsibilities of COCs in and citizens as well as promoting greater participationen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
152098.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.3 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons