Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10423
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปธาน สุวรรณมงคล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงค์พิสันต์ ประชุม, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T07:36:05Z-
dc.date.available2023-11-13T07:36:05Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10423-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาบทบาทของภาคประชาชนในการจัดการขยะมูล ฝอยในเขตเทศบาลตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย (2) เสนอแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สายจังหวัดเชียงราย วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ประชากร กลุ่มเป้าหมายด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ได้แก่ ประธานชุมชนจำนวน 6 คน ผู้ใหญ่บ้านจำนวน 6 คน และประชาชนในเขตเทศบาลตำบลห้วยไคร้ จำนวน 10 คน ใช้แบบสัมภาษณ์เป็น เครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลแบบพรรณนานำข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและความคิดเห็นมาวิเคราะห์ บรรยาย ผลการศึกษาพบว่า 1. ภาคประชาชนมีบทบาทในการจัดการขยะมูลฝอย ในเขตเทศบาล ตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ดังนี้ 1) มีการคัดแยกขยะ ณ แหล่งกำเนิด 2) มีการลดการ เกิดขยะ 3) มีการรวบรวมขยะก่อนทิ้ง 4) มีการเพิ่มมูลค่าของขยะรีไซเคิล 5) มีการแปรสภาพขยะไปใช้ ประโยชน์ ซึ่งจากการที่ประชาชนมีบทบาทดังกล่าวทำให้ปริมาณขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลห้วย ไคร้ลดลง และ 2. ข้อเสนอแนะคือควรมีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องในการส่งเสริมและรณรงค์ให้ ประชาชนมีบทบาทในการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนก่อนนำไปทิ้ง ส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับการ แยกขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทซึ่งขยะรีไซเคิลแต่ละประเภทนั้นจะมีราคาแตกต่างกัน หากมีการคัดแยก ประเภทแล้วมูลค่าของขยะรีไซเคิลจะสูงขึ้น ส่งเสริมการทำปุ๋ยหมักจากเศษวัชพืชให้มีการนำปุ๋ยที่ผลิตได้ ไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเทศบาล ควรมีการส่งเสริมให้ความรู้การจัดการขยะในชุมชนและสนับสนุนให้แต่ละชุมชนจัดตั้งองค์กรประชาชน ในรูปแบบคณะกรรมการชุมชนเพื่อบริหารจัดการขยะในชุมชน รวมทั้งเชิญชวนภาคเอกชนให้มามีส่วน ร่วมในการจัดการขยะด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะ--ไทย--เชียงราย--การมีส่วนร่วมของประชาชน.th_TH
dc.subjectการกำจัดของเสีย--ไทย--เชียงราย--การมีส่วนร่วมของประชาชน.th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.titleบทบาทของภาคประชาชนในการจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตำบลห้วยไคร้ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeRoles of public sector in solid waste management in Huai Khrai Municipality of Mae Sai District Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are (1) to study roles of public sector in solid waste management in Huai Khrai Municipality of Mae Sai District, Chiang Rai Province and (2) to propose the guideline of public participation on solid waste management in Huai Khrai Municipality of Mae Sai District, Chiang Rai Province. The qualitative approach was used to apply in this research. Data collection was gathered from literature review and in-depth interview. Samplings were six community leaders, six headmen and ten people in Huai Khrai Municipality which selected by purposive sampling. Then, the data were analyzed using a content analysis method and a descriptive analysis method. This research found that (1) the public sector had an important roles to manage the solid waste at Huai Khrai Municipality of Mae Sai District, Chiang Rai Province including a) Separation of solid waste at source, b) Reduction of solid waste generation, c) Solid waste collection, d) Add value to recycled waste and e) Recycle of solid waste. Thus, the volume of solid waste in Huai Khrai Municipality reduced due to roles of public sector in solid waste management. (2) The suggested guidelines of public participation on solid waste management are following. The public relation on solid waste separation should be implemented continuously. The knowledge of solid waste separation and value of recyclable waste should be provided to public sector. The technology converting organic waste to organic fertilizer should be shared to public sector especially cultivators. Municipality should encourage the knowledge of solid waste management to the community. Municipality should support to establish the people organization in order to manage the solid waste in the community. In addition, the private sector should be involved in the solid waste managementen_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
154895.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons