Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorลัดดาวรรณ ณ ระนอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorราตรี ประชุมพันธ์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-14T08:24:18Z-
dc.date.available2023-11-14T08:24:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10439-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความขยันหมั่นเพียรและทัศนคติที่ดี ต่อการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและ (2) เปรียบเทียบความ ขยันหมั่นเพียรและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวและ นักเรียนที่ได้รับการให้ข้อสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาในช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองไร่ จังหวัดยโสธร โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คน จากนั้น แบ่ง ออกเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยการสุ่มอย่างง่าย กลุ่มละ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ วิจัยคือ แบบวัดความขยันหมั่นเพียรและทัศนคติต่อการเรียนที่มีค่าความเที่ยง .93 ชุดกิจกรรมแนะ แนว และการให้ข้อสนเทศ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนความขยันหมั่นเพียรและทัศนคติที่ ดีต่อการเรียนสูงกว่าหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และ (2) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว มีคะแนนความขยันหมั่นเพียรและทัศนคติที่ดีต่อการ เรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการให้ข้อสนเทศ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.308-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อth_TH
dc.subjectนักเรียน--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการสำรวจทัศนคติth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวที่มีต่อความขยันหมั่นเพียรและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนของนักเรียนในช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองไร่ จังหวัดยโสธรth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package on perseverance and positive attitude towards learning of second level students at Ban Nong Rai School, Yasothorn Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.308-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to (1) compare perseverance and positive attitude towards learning of students before and after using a guidance activities package; and (2) compare perseverance and attitude towards learning of students who used the guidance activities package with those of students who used the provided guidance information The research sample consisted of 20 Second Level students of Ban NongRai School in Yasothorn Province, who volunteered to participate in the experiment and also obtained by purposive sampling. Then they were randomly assigned into the experimental and control groups each of which comprised 10 students. The employed rescarch instruments were a test on perseverance and positive attitude towards learning with reliavility coefticient of .93 Statisice employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t - test. Research findings revealed that (1) the post - experiment perseverance and positive attitude towards learning mean score of students in the experimental group was higher than their pre - experiment counterpart at the significance lever of.01; and (2) the post - experiment perseverance and positive attitude towards learning mean score of students in the experimental group using the guidance activites package was higher than the counterpart mean score of students in the control group using the provided guidance information at the significance level of .01en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.97 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons