Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10442
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเชษฐวุฒิ จันทร์งาม, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T02:30:39Z-
dc.date.available2023-11-15T02:30:39Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10442-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับการสื่อสารใน ภาวะวิกฤติ 2) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการการสื่อสารในภาวะวิกฤติ การศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่องเทคนิคการสื่อสารในภาวะวิกฤติ เป็นการศึกษาในรูปแบบ การเรียงเรียงตำรา โดยโครงสร้างตำราประกอบด้วยเนื้อหา 3 บท คือ บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการ สื่อสาร บทที่ 2 ภาวะวิกฤติ และบทที่ 3 การสื่อสารในภาวะวิกฤติ การสื่อสาร หมายถึง ความต้องการที่จะส่งข้อมูลข่าวสารของผู้ส่งสารผ่านสื่อไปยังผู้รับ สาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) แสวงหาข่าวสาร 2) แสดงอารมณ์ความรู้สึก 3) แสดงจินตนาการ 4) แสดงออกซึ่งวัฒนธรรมทางสังคมอันดีงามและเป็นสากล และ 5) โน้มน้าวชักจูงใจ การสื่อสารเป็น กระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสาร มีความสัมพันธ์กับสังคมและวัฒนธรรม อีกทั้งมีความ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งสัมพันธ์กับกระบวนการทางจิตวิทยา สำหรับภาวะวิกฤติ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภาวะวิกฤติที่เกิดจากภัยธรรมชาติ และภาวะวิกฤติที่เกิดจากน้ำมือมนุษย์ ภาวะวิกฤติที่เกิดจากภัยธรรมชาติ การจัดการภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย วิธีการ การกำหนดมาตรวัด และการสื่อสาร การสื่อสารในภาวะวิกฤติจึงหมายถึง การติดต่อสื่อสารหรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารให้กลุ่มเป้าหมายได้รับรู้ ในสถานการณ์ที่ไม่ปกติ เป็นอันตราย เกิดสถานการณ์ที่ยากต่อการ สื่อสารให้เข้าใจ จึงจำเป็นต้องมีการสื่อสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว ชัดเจน และจำนวนครั้งมากพอ เพื่อผล ในการลดความรุนแรง หรือระงับสถานการณ์ในภาวะวิกฤติให้สิ้นสุดได้สำเร็จ การจัดการการ สื่อสารในภาวะวิกฤติ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การวางแผนการสื่อสารประชาสัมพันธ์ภาวะวิกฤติ การสื่อสารภาวะวิกฤติ และการติดตามและ ประเมินผล ช่วงเวลาการสื่อสารภาวะวิกฤติ แบ่งเป็นการสื่อสารก่อนภาวะวิกฤติ การสื่อสารขณะ เกิดภาวะวิกฤติ และการสื่อสารหลังภาวะวิกฤติth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจัดการในภาวะวิกฤตth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.subjectการสื่อสารth_TH
dc.titleเทคนิคการสื่อสารในภาวะวิกฤติth_TH
dc.title.alternativeCommunication techniques for crisis situationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this independent study were 1) to provide basic information on communication in crisis situations; and 2) to contribute knowledge and create a greater understanding of how to manage communications during a crisis. This independent study was a review of documentary data based primarily on analysis of the content of 3 textbook chapters on 1) communication concepts, 2) crisis situations, and 3) communication during a crisis. “Communication” means the desire to send news or information from a sender through a medium to a receiver, with the goal of 1) finding information, 2) expressing feelings, 3) expressing an imagination, 4) expressing international culture, or 5) persuading. Communication is a process of exchanging information. It is related to society and culture and changes continuously. Communication is also related to psychological processes. Crisis situations can be divided into 2 types: natural disaster crises and man-made crises. For natural crises, management consists of methods, setting indexes to measure parameters, and communication. Crisis communication thus means broadcasting or transmitting news and information to target groups during unusual and dangerous circumstances that make normal communication more difficult. This calls for accurate, fast, and clear communication with enough frequency in sending messages to ease the severity of the crisis or put an end to the crisis situation. There are 4 steps to crisis communication management: analysis of basic data and related information, communications planning, communication during the crisis, and evaluation and follow-up. Crisis communications period can be divided into pre-crisis communications, communications during the crisis and post-crisis communicationsen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
136687.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons