Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10448
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัญญนิษฐ์ เลิศทัศนวงศ์, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T03:06:34Z-
dc.date.available2023-11-15T03:06:34Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10448-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการเปิดรับสื่อและความพึงพอใจต่อรูปแบบและวิธีการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ (2) อิทธิพลของกลุ่มเพื่อนที่มีต่อนักศึกษา (3) การเข้าร่วมกิจกรรมและความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรมนักศึกษา (4) เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างลักษณะทางประชากรกับความพึงพอใจต่อรูปแบบและวิธีการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ และเปรียบเทียบการเปิดรับสื่อกับการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา (5) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ ความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรม และอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนกับการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า (1) นักศึกษาเปิดรับสื่อออนไลน์เว็บไซต์ของสถาบันมากที่สุด รองลงมา ได้แก่เฟซบุ๊กของคณะที่ตนเองศึกษา เปิดรับสื่อสิ่งพิมพ์ประเภทเอกสารประกาศที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ของคณะมากที่สุด รองลงมาได้แก่ เอกสารประกาศที่บอร์ดประชาสัมพันธ์ส่วนกลาง เปิดรับสื่อบุคคลที่เป็นเพื่อนมากที่สุดรองลงมาได้แก่ อาจารย์ เปิดรับสื่อกิจกรรมประเภทการแนะแนว(โฮมรูม) มากที่สุดและมีความพึงพอใจต่อรูปแบบและวิธีการดำเนินงานประชาสัมพันธ์ในระดับปานกลาง (2) กลุ่มเพื่อนมีอิทธิพลของต่อนักศึกษาในระดับมาก (3) นักศึกษาส่วนใหญ่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 4 กิจกรรมจากทั้งหมด 5 กิจกรรม และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรมในระดับปานกลาง (4) นักศึกษาที่มีเพศแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อรูปแบบและวิธีดำเนินงานประชาสัมพันธ์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ0.05 และการเปิดรับสื่อที่แตกต่างกันมีการเข้าร่วมกิจกรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ0.05 (5) ปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับค่อนข้างสูงความพึงพอใจต่อรูปแบบกิจกรรมมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการเข้าร่วมกิจกรรมในระดับปานกลาง และอิทธิพลของกลุ่มเพื่อนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาครในระดับค่อนข้างมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการประชาสัมพันธ์th_TH
dc.subjectกิจกรรมของนักศึกษาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--นิเทศศาสตร์th_TH
dc.titleปัจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ที่มีผลต่อการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาครth_TH
dc.title.alternativePublic relations factors that affect participation in activities of students of the Physical Education Institute, Samut Sakhon Campusen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study students of the Physical Education Institute's Samut Sakhon Campus in terms of (1) Their media exposure behavior and satisfaction with the forms and methods of public relations used by the institute; (2) The influence of their peer group; (3) Their participation in institute activities and their satisfaction with the kinds of activities; (4) A comparison of the students' demographics and their satisfaction with the forms and methods of the institute's public relations and a comparison of the students' exposure to public relations media with their participation in the institute's activities; and (5)The relationships between public relations factors, students' satisfaction with the kinds of activities, the influence of peers, and students' participation in the institute's activities. This was a quantitative research. The sample population consisted of 240 year-2 to year-5 students of the Physical Education Institute, Samut Sakhon Campus, who had participated in the institute's activities. The sample population was chosen through proportional sampling. The data collection tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, LSD pairwise comparison, and Pearson's correlated coefficient. The results showed that (1) For online media, the sample students were exposed to the institute's public relations the most through the institute's website, followed by the facebook page of their department. For print media, the students were exposed to announcements on the message board of their department the most, followed by announcements on central message boards. For personal media, the students were exposed to public relations messages from their friends the most, followed by their teachers. For activity media, they were exposed to homeroom counselling the most. Overall, the students had a medium level of satisfaction with the forms and methods of public relations. (2) Overall, peer groups had a high level of influence on the students. (3) The majority of students participated in 4 out of 5 activities. Overall, they had a medium level of satisfaction with the kinds of activities. (4) A statistically significant (p<0.05) correlation was found between student gender and satisfaction with the forms and methods of public relations. A statistically significant correlation was found between exposure to media and participation in activities. (5)There was a relatively strong negative correlation between public relations factors and participation in activities. There was a medium positive correlation between satisfaction with the kinds of activities and participation in activities. There was a relatively strong positive correlation between influence of peers and participation in activitiesen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
151522.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons